โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การลงคะแนนเสียงในสวิตเซอร์แลนด์และความชอบธรรม (รัฐศาสตร์)

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง การลงคะแนนเสียงในสวิตเซอร์แลนด์และความชอบธรรม (รัฐศาสตร์)

การลงคะแนนเสียงในสวิตเซอร์แลนด์ vs. ความชอบธรรม (รัฐศาสตร์)

การลงคะแนนเสียงในสวิตเซอร์แลนด์ (Voting in Switzerland, votation) เป็นกระบวนการที่ประชาชนชาวสวิสตัดสินใจในเรื่องการปกครองและเลือกตั้งเจ้าหน้าที่ต่าง ๆ โดยหน่วยเลือกตั้งจะเปิดตอนเช้าวันเสาร์และวันอาทิตย์ แต่คนโดยมากจะลงคะแนนล่วงหน้าทางไปรษณีย์ (Abstimmungssonntag) การลงคะแนนจะยุติที่เที่ยงวันอาทิตย์ และโดยปกติจะรู้ผลในเย็นวันเดียวกัน ระบอบการปกครองของสวิตเซอร์แลนด์พิเศษกว่าประเทศประชาธิปไตยอื่น ๆ ในปัจจุบัน เพราะมีการดำเนินงานแบบประชาธิปไตยโดยตรงขนานกับประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน จึงมีการเรียกระบอบนี้ว่า ระบอบประชาธิปไตยกึ่งโดยตรง ซึ่งให้อำนาจประชาชนเพื่อค้านกฎหมายที่ผ่านรัฐสภา และเพื่อเสนอการเปลี่ยนรัฐธรรมนูญได้ทุกเมื่อ ในระดับสหพันธรัฐ อาจมีการลงคะแนนเสียงด้วยเหตุดังต่อไปนี้คือ. ในรัฐศาสตร์ ความชอบธรรม (legitimacy) คือ การที่อำนาจ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กฎหมายซึ่งใช้บังคับ หรือระบอบการปกครองนั้น ได้รับการยอมรับจากสาธารณชน ความชอบธรรมทางการเมืองถือเป็นเงื่อนไขพื้นฐานในการปกครอง ถ้าไร้ซึ่งความชอบธรรมแล้ว รัฐบาลจะ "เข้าตาจนในการบัญญัติกฎหมาย" (legislative deadlock) และอาจล่มสลายได้ในที่สุด แต่ในระบบการเมืองซึ่งมิได้ให้ความสำคัญแก่ความชอบธรรมนั้น ระบอบการปกครองที่มิใช่ของประชาชนสามารถดำรงอยู่ได้เพราะได้รับการอุ้มชูจากอภิชนกลุ่มเล็ก ๆ ที่มีอิทธิพลมาก ในปรัชญารัฐศาสตร์จีน นับแต่สมัยราชวงศ์โจวเป็นต้นมา รัฐบาลและผู้ปกครองจะมีความชอบธรรมต่อเมื่อได้รับอาณัติแห่งสวรรค์ (Mandate of Heaven) เมื่อใดที่ผู้ปกครองขาดอาณัติแห่งสวรรค์ เมื่อนั้นก็จะขาดความชอบธรรมและสิทธิที่จะปกบ้านครองเมือง ในจริยปรัชญา คำว่า "ความชอบธรรม" มักได้รับการตีความอย่างเด็ดขาดว่า เป็นบรรทัดฐานที่ผู้อยู่ใต้ปกครองได้ประทานให้แก่ผู้ปกครองและการกระทำต่าง ๆ ของผู้ปกครอง โดยเชื่อว่า คณะผู้ปกครองที่ได้รับการจัดตั้งตามกฎหมายจะกระทำการทั้งหลายด้วยอำนาจที่ใช้อย่างเหมาะสม ส่วนในนิติศาสตร์นั้น "ความชอบธรรม" (legitimacy) ต่างจาก "ความชอบด้วยกฎหมาย" (legality) เพราะการกระทำของผู้ปกครองอาจชอบด้วยกฎหมาย แต่ไม่ชอบธรรมก็ได้ เช่น มติอ่าวตังเกี๋ยที่ให้รัฐบาลสหรัฐอเมริกาเปิดสงครามต่อเวียดนามได้โดยไม่ต้องประกาศสงครามอย่างเป็นทางการ ตรงกันข้าม การกระทำของผู้ปกครองอาจชอบธรรม แต่ไม่ชอบด้วยกฎหมายก็ได้ เช่น กรณีรัฐบาลทหารชิลีเมื่อ ค.ศ. 1973 ตัวอย่างของเรื่องราวเหล่านี้ยังเห็นได้ในคราววิกฤติรัฐธรรมนูญ ในยุคเรืองปัญญา จอห์น ล็อก (John Locke) นักทฤษฎีสังคมชาวอังกฤษ เสนอว่า ความชอบธรรมทางการเมืองย่อมมาจากการที่ประชาชนยินยอมให้ปกครองไม่ว่าโดยแจ้งชัดหรือโดยปริยาย เขาว่า "ขอโต้แย้งศาสตรนิพนธ์ ว่า รัฐบาลย่อมขาดความชอบธรรม เว้นแต่จะดำเนินการเมื่อได้รับความยินยอมของผู้ใต้ปกครอง" ขณะที่ดอล์ฟ สเติร์นเบอร์เกอร์ (Dolf Sternberger) ปรัชญาเมธีรัฐศาสตร์เยอรมัน ว่า "ความชอบธรรมเป็นรากฐานของอำนาจในการปกครองที่พึงใช้เมื่อฝ่ายผู้ปกครองตระหนักว่า ตนมีสิทธิจะปกครอง และเมื่อผู้ใต้ปกครองยอมรับสิทธินั้นพอสมควร" ส่วนซีมอร์ มาติน ลิปเซ็ต (Seymour Martin Lipset) ว่า ความชอบธรรมยัง "ประกอบด้วย การที่ระบบการเมืองสามารถสร้างและรักษาความเชื่อที่ว่า สถาบันทางการเมืองที่มีอยู่นั้นเป็นสถาบันที่เหมาะสมและถูกต้องที่สุดสำหรับสังคมแล้ว" ด้วย และรอเบิร์ต เอ. ดาห์ล (Robert A. Dahl) ปรัชญาเมธีรัฐศาสตร์ชาวอเมริกัน อธิบายว่า "ความชอบธรรมนั้นเป็นดังฝาย ตราบที่สายชลปริ่มอย่างได้ระดับ เสถียรภาพทางเมืองก็ดำรงอยู่ แต่หากน้ำต่ำกว่าระดับที่พึงมี ความชอบธรรมทางการเมืองก็นับว่าล่อแหลม".

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การลงคะแนนเสียงในสวิตเซอร์แลนด์และความชอบธรรม (รัฐศาสตร์)

การลงคะแนนเสียงในสวิตเซอร์แลนด์และความชอบธรรม (รัฐศาสตร์) มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง การลงคะแนนเสียงในสวิตเซอร์แลนด์และความชอบธรรม (รัฐศาสตร์)

การลงคะแนนเสียงในสวิตเซอร์แลนด์ มี 52 ความสัมพันธ์ขณะที่ ความชอบธรรม (รัฐศาสตร์) มี 8 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (52 + 8)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การลงคะแนนเสียงในสวิตเซอร์แลนด์และความชอบธรรม (รัฐศาสตร์) หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »