โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การรวมประเทศเยอรมนีและท่าอากาศยานเบอร์ลินเชอเนอเฟ็ลท์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง การรวมประเทศเยอรมนีและท่าอากาศยานเบอร์ลินเชอเนอเฟ็ลท์

การรวมประเทศเยอรมนี vs. ท่าอากาศยานเบอร์ลินเชอเนอเฟ็ลท์

ผู้คนออกมารวมตัว ณ กำแพงเบอร์ลิน การรวมประเทศเยอรมนี (Deutsche Wiedervereinigung) เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในปี.. ท่าอากาศยานเบอร์ลินเชอเนอเฟ็ลท์ (Flughafen Berlin-Schönefeld) เป็นท่าอากาศยานระดับรองตั้งอยู่ห่างจากกรุงเบอร์ลินไปทางตะวันตกเฉียงใต้ราว 18 กิโลเมตร ใกล้กับเมืองเชอเนอเฟ็ลท์ในรัฐบรันเดินบวร์ค ท่าอากาศยานแห่งนี้เป็นท่าอากาศยานหนึ่งในสองแห่งของเบอร์ลิน อีกแห่งหนึ่งคือท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์ลินเทเกิล ซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ท่าอากาศยานเบอร์ลินเชอเนอเฟ็ลท์เคยเป็นท่าอากาศยานหลักของประเทศเยอรมนีตะวันออก ซึ่งในยุคนั้นถือเป็นท่าอากาศยานเพียงแห่งเดียวของเบอร์ลินตะวันออก ในอนาคตอันใกล้มีแผนจะย้ายการดำเนินงานทั้งหมดในท่าอากาศยานแห่งนี้ไปยังท่าอากาศแห่งใหม่คือท่าอากาศยานเบอร์ลินบรันเดินบวร์ค มีกำหนดเปิดใช้งานในปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การรวมประเทศเยอรมนีและท่าอากาศยานเบอร์ลินเชอเนอเฟ็ลท์

การรวมประเทศเยอรมนีและท่าอากาศยานเบอร์ลินเชอเนอเฟ็ลท์ มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ประเทศเยอรมนีตะวันออกเบอร์ลินเบอร์ลินตะวันออก

ประเทศเยอรมนีตะวันออก

อรมนีตะวันออก (East Germany) เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการของ สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี (Deutsche Demokratische Republik - DDR; German Democratic Republic - GDR) เป็นประเทศคอมมิวนิสต์ที่ดำรงอยู่ในช่วงปี 1949 ถึงปี 1990 โดยเป็นส่วนหนึ่งของดินแดนเยอรมันที่ถูกปกครองโดยอดีตสหภาพโซเวียต หลังจากการยึดครองเยอรมนีของกองทัพโซเวียตสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เยอรมนีตะวันออกเป็นประเทศหนึ่งที่เข้าร่วมสนธิสัญญาวอร์ซอ ในช่วงสงครามเย็น โดยเยอรมนีตะวันออกได้นิยามตัวเองว่าเป็นรัฐสังคมนิยม "ของคนงานและชาวนา"Patrick Major, Jonathan Osmond, The Workers' and Peasants' State: Communism and Society in East Germany Under Ulbricht 1945–71, Manchester University Press, 2002, และเขตที่ถูกยึดครอง ได้รับการปกครองโดยกองกำลังโซเวียตในตอนท้ายของสงครามโลกครั้งที่สอง เขตยึดครองโซเวียตตามข้อตกลงพ็อทซ์ดัมซึ่งอยู่ทางทิศตะวันออกติดกับแนว Oder-Neisse เขตยึดครองโซเวียตล้อมรอบเบอร์ลินตะวันตก แต่ไม่รวมถึง เป็นผลให้เบอร์ลินตะวันตกยังคงอยู่นอกเขตอำนาจของเยอรมนีตะวันออก สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนีก่อตั้งขึ้นในเขตโซเวียต ขณะที่สหพันธรัฐจัดตั้งขึ้นในสามเขตตะวันตก เยอรมนีตะวันออกเป็นรัฐบริวารของสหภาพโซเวียต เจ้าหน้าที่ยึดครองโซเวียตได้เริ่มถ่ายโอนความรับผิดชอบในการบริหารให้กับผู้นำคอมมิวนิสต์เยอรมันในปี 1948 และเริ่มมีบทบาทเป็นรัฐเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 1949 อย่างไรก็ตามกองทัพโซเวียตยังคงกำลังอยู่ในประเทศตลอดช่วงสงครามเย็น จนถึง 1989 เยอรมนีตะวันออกถูกปกครองโดยพรรคเอกภาพสังคมนิยมเยอรมนี แม้ว่าพรรคอื่น ๆ ในนามขององค์กรพันธมิตร National Front of Democratic Germany 29 October 1989.

การรวมประเทศเยอรมนีและประเทศเยอรมนีตะวันออก · ท่าอากาศยานเบอร์ลินเชอเนอเฟ็ลท์และประเทศเยอรมนีตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์ลิน

อร์ลิน (แบร์ลีน) เป็นเมืองหลวงและรัฐหนึ่งในสิบหกรัฐสหพันธ์ของประเทศเยอรมนี มีประชากร 3.4 ล้านคนในเขตเมือง มากที่สุดในเยอรมนี และมากเป็นอันดับสองในสหภาพยุโรป เป็นศูนย์กลางของเขตนครหลวงเบอร์ลิน-บรานเดนบูร์ก ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเยอรมนี มีประชากรในเขตนครหลวงรวม 1คนจาก 1ชาติ มากเป็นอันดับเก้าในสหภาพยุโรป, Eurostat.

การรวมประเทศเยอรมนีและเบอร์ลิน · ท่าอากาศยานเบอร์ลินเชอเนอเฟ็ลท์และเบอร์ลิน · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์ลินตะวันออก

อร์ลินตะวันออก ฤดูร้อน ค.ศ. 1989 เบอร์ลินตะวันออก เป็นชื่อที่เรียกส่วนตะวันออกของเบอร์ลินระหว่างปี ค.ศ. 1949 ถึง 1990 ประกอบด้วยเขตเบอร์ลินใต้ปกครองของโซเวียตซึ่งก่อตั้งใน..

การรวมประเทศเยอรมนีและเบอร์ลินตะวันออก · ท่าอากาศยานเบอร์ลินเชอเนอเฟ็ลท์และเบอร์ลินตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง การรวมประเทศเยอรมนีและท่าอากาศยานเบอร์ลินเชอเนอเฟ็ลท์

การรวมประเทศเยอรมนี มี 20 ความสัมพันธ์ขณะที่ ท่าอากาศยานเบอร์ลินเชอเนอเฟ็ลท์ มี 6 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 11.54% = 3 / (20 + 6)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การรวมประเทศเยอรมนีและท่าอากาศยานเบอร์ลินเชอเนอเฟ็ลท์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »