ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การพิจารณาคดีเนือร์นแบร์คและอาชญากรรมต่อมนุษยชาติ
การพิจารณาคดีเนือร์นแบร์คและอาชญากรรมต่อมนุษยชาติ มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): การพิจารณาคดีเนือร์นแบร์คศาลอาญาระหว่างประเทศอาชญากรรมสงคราม
การพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ค
ซึดดอยท์เชอไซทุง (Süddeutsche Zeitung) ลงข่าว "คำพิพากษาในเนือร์นแบร์ค" ในภาพคือ: (แถวจากซ้ายไป - รูปจากบนลงมา) ''แถวที่หนึ่ง'' เกอริง, เฮสส์, ริบเบนทรอพ, โรเซนแบร์ก, ฟรังค์ และฟริก; ''แถวที่สอง'' ฟุงค์, ชไตเชอร์ และชัชท์; ''แถวที่สาม'' เดอนิทซ์, แรเดอร์ และชีรัช; ''แถวที่สี่'' เซาค์เคล, โยเดิล, พาเพิน, ไซซ์-อินควัร์ท, สเปร์, นอยรัท และบอร์มันน์ การพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ค (Nuremberg trials) เป็นชุดการพิจารณาคดีทางทหารที่ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้ชนะสงครามโลกครั้งที่สองเป็นผู้จัด มีจุดเด่นเป็นการฟ้องสมาชิกชั้นผู้ใหญ่ในคณะผู้นำทางการเมือง การทหาร และเศรษฐกิจของนาซีเยอรมนีซึ่งพ่ายสงคราม การพิจารณาทั้งนี้มีขึ้น ณ ตำหนักยุติธรรม เมืองเนือร์นแบร์ค รัฐบาวาเรีย ประเทศเยอรมนี โดยชุดแรกเป็น "การพิจารณาผู้กระทำความผิดอาญาสงครามกลุ่มหลัก" ในศาลทหารระหว่างประเทศ (International Military Tribunal) เริ่มในวันที่ 20 พฤศจิกายน..
การพิจารณาคดีเนือร์นแบร์คและการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ค · การพิจารณาคดีเนือร์นแบร์คและอาชญากรรมต่อมนุษยชาติ ·
ศาลอาญาระหว่างประเทศ
ลอาญาระหว่างประเทศ (International Criminal Court: ICC/ICCt; Cour Pénale Internationale) เป็นศาลระหว่างประเทศซึ่งมีที่ทำการอยู่ในกรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ มีเขตอำนาจดำเนินคดีผู้กระทำความผิดอาญาระหว่างประเทศ 3 ฐาน คือ การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์, อาชญากรรมต่อมนุษนชาติ, และอาชญากรรมสงคราม ก่อตั้งขึ้นโดยประสงค์จะให้เป็นส่วนเสริมของระบบยุติธรรมที่แต่ละประเทศมีอยู่ จึงมีเขตอำนาจเมื่อเป็นไปตามเงื่อนไขเท่านั้น เช่น เมื่อศาลระดับประเทศไม่สามารถหรือไม่ประสงค์จะดำเนินคดีแล้ว หรือเมื่อคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติหรือรัฐหนึ่ง ๆ เสนอคดีมาให้พิจารณา ศาลนี้เริ่มปฏิบัติงานในวันที่ 1 กรกฎาคม..
การพิจารณาคดีเนือร์นแบร์คและศาลอาญาระหว่างประเทศ · ศาลอาญาระหว่างประเทศและอาชญากรรมต่อมนุษยชาติ ·
อาชญากรรมสงคราม
อาชญากรรมสงคราม (war crime) คือ การกระทำอันฝ่าฝืนกฎหมายสงครามอย่างร้ายแรง ทำให้ผู้กระทำต้องรับผิดทางอาญาเป็นการเฉพาะตัว เช่น การฆ่าพลเรือนหรือนักโทษโดยเจตนา, การทรมาน, การทำลายทรัพย์สินพลเรือน, การจับเป็นตัวประกัน, การล่อลวง, การข่มขืนกระทำชำเรา, การใช้เด็กทางทหาร, การปล้นทรัพย์, การไม่ไว้ชีวิต, และการละเมิดอย่างร้ายแรงซึ่งหลักการแยกแยะและหลักความได้สัดส่วน เป็นต้นว่า การทำลายประชากรพลเรือนด้วยระเบิดยุทธศาสตร์ แนวคิดเรื่องอาชญากรรมสงครามปรากฏขึ้นในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อของคริสต์ศตวรรษที่ 20 เมื่อมีการประมวลกฎหมายจารีตประเพณีระหว่างประเทศที่ใช้บังคับได้สำหรับการทำสงครามระหว่างรัฐอธิปไตย การประมวลกฎหมายดังกล่าวเกิดขึ้นในระดับชาติ เช่น การเผยแพร่ประมวลกฎหมายลีแบร์ในสหรัฐเมื่อ..
การพิจารณาคดีเนือร์นแบร์คและอาชญากรรมสงคราม · อาชญากรรมต่อมนุษยชาติและอาชญากรรมสงคราม ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ การพิจารณาคดีเนือร์นแบร์คและอาชญากรรมต่อมนุษยชาติ มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง การพิจารณาคดีเนือร์นแบร์คและอาชญากรรมต่อมนุษยชาติ
การเปรียบเทียบระหว่าง การพิจารณาคดีเนือร์นแบร์คและอาชญากรรมต่อมนุษยชาติ
การพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ค มี 84 ความสัมพันธ์ขณะที่ อาชญากรรมต่อมนุษยชาติ มี 15 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 3.03% = 3 / (84 + 15)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การพิจารณาคดีเนือร์นแบร์คและอาชญากรรมต่อมนุษยชาติ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: