โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การพลัดถิ่นและชาวจูต

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง การพลัดถิ่นและชาวจูต

การพลัดถิ่น vs. ชาวจูต

ียนแสดงการอพยพของชาวไอริช ราว ค.ศ. 1868 การพลัดถิ่น (Diaspora) คำว่า “Diaspora” มาจากภาษากรีก “διασπορά” ที่แปลว่า “การหว่าน” เป็นคำที่หมายถึงการโยกย้ายของประชากรที่มีชาติพันธุ์เดียวกันเป็นกลุ่มใหญ่ ที่อาจจะเกิดจากการถูกบังคับให้ทำการโยกย้าย หรือ เลือกที่จะโยกย้ายถิ่นฐานโดยความตั้งใจของตนเองจากถิ่นฐานที่อยู่เดิมไปตั้งถิ่นฐานและเป็นพลเมืองในดินแดนใหม่ที่มักจะไกลจากถิ่นฐานที่ตั้งอยู่เดิม “การพลัดถิ่น” แตกต่างจากวัฒนธรรมของผู้เร่ร่อน และใกล้เคียงกับการเป็นผู้ลี้ภัย (Refugee) มากกว่า แต่การลี้ภัยอาจจะเป็นการโยกย้ายไปตั้งถิ่นฐานอย่างถาวรในดินแดนใหม่หรือไม่ก็ได้ คำว่า “การพลัดถิ่น” แตกต่างจากการลี้ภัยที่หมายถึงกลุ่มผู้ที่พลัดจากบ้านเกิดเมืองนอนที่ไปตั้งถิ่นฐานอยู่ในดินแดนใหม่อย่างเป็นการถาวร คำนี้นิยมใช้กับการอพยพของชนกลุ่มใหญ่ที่อาจจะมีสาเหตุมาจากการบังคับให้โยกย้าย หรือจากปัญหาทางเศรษฐกิจที่ทำให้มีความจำเป็นต้องไปหาที่ตั้งถิ่นฐานใหม่ก็ได้ ความเปลี่ยนแปลงทางสังคม การวิวัฒนาการทางวัฒนธรรมของผู้พลัดถิ่นที่ไปตั้งถิ่นฐานอยู่ในดินแดนอื่น ก็อาจจะแตกต่างไปจากการวิวัฒนาการของชนกลุ่มเดียวกันในบ้านเกิดเมืองนอนที่ทิ้งมา การรักษาวัฒนธรรม ประเพณี นอกจากนั้นปัจจัยต่างๆ ของแต่ละกลุ่มก็จะต่างระดับกันไป แต่แนวโน้มโดยทั่วไปแล้วความผูกพันทางวัฒนธรรมของกลุ่มผู้พลัดถิ่นมักจะดำเนินไปในรูปของการต่อต้านความเปลี่ยนแปลงของภาษาและในการรักษาประเพณีการปฏิบัติทางศาสนาเช่นที่เคยทำกันมาในประเทศบ้านเกิดอย่างเหนียวแน่นโดยเฉพาะในชั่วคนรุ่นแรก. มุทรจัตแลนด์ จูต (Jutes หรือ Iuti หรือ Iutae) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ในกลุ่มชนเจอร์แมนิกที่นักบุญบีดกล่าวว่าเป็นหนึ่งในสามกลุ่มชนเจอร์แมนิกที่มีอำนาจมากที่สุดในขณะนั้น เชื่อกันว่าชาวจูตมาจากคาบสมุทรจัตแลนด์ (Iutum) ในเดนมาร์กปัจจุบัน, ชเลสวิกตอนใต้ (ตอนใต้ของจัตแลนด์) และบางส่วนของฝั่งทะเลอีสต์ฟริเซีย นักบุญบีดกล่าวว่าบ้านเกิดของชาวจูตอยู่ตรงกันข้ามกับชาวแองเกิลและไม่ไกลจากชาวแซกซันซึ่งก็หมายถึงทางตอนเหนือของคาบสมุทรจัตแลนด์ แทซิทัสกล่าวถึงชนที่เรียกว่า "ยูโดซีส" (Eudoses) ที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ทางตอนเหนือของคาบสมุทรจัตแลนด์ ซึ่งอาจจะเป็นชนกลุ่มเดียวกัน นอกจากนั้นก็ยังมีที่กล่าวว่าชาวจูตคือ "โอเทนาส" (Eotenas) ที่มาจากการขัดแย้งระหว่างฟริเซียนและชนเดนส์ที่บรรยายในโคลง เบวูล์ฟ (บรรทัดที่ 1068-1159) ผู้อื่นกล่าวว่าตีความหมายว่า "ēotenas" เป็น "jotuns" ที่แปลว่า "ยักษ์" หรือ "ศัตรู".

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การพลัดถิ่นและชาวจูต

การพลัดถิ่นและชาวจูต มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชาวแองเกิลชาวแซกซันกลุ่มชนเจอร์แมนิก

ชาวแองเกิล

ักรวรรดิโรมันภายไต้จักรพรรดิเฮเดรียน (ปกครอง ค.ศ. 117-ค.ศ. 138) แสดงที่ตั้งของ "Anglii" ที่ตั้งถิ่นฐานบริเวณคอแหลมจัตแลนด์ (เดนมาร์ก) แองเกิล (Angles) เป็นคำภาษาอังกฤษใหม่สำหรับเรียกกลุ่มผู้พูดภาษากลุ่มเจอร์แมนิกที่ได้ชื่อมาจากบริเวณการตั้งถิ่นฐานอังเงิลน์ (Angeln) ที่อยู่ในบริเวณรัฐชเลสวิก-โฮลชไตน์ (Schleswig-Holstein) ในเยอรมนีปัจจุบัน แองเกิลเป็นกลุ่มชนหลักที่มาตั้งถิ่นฐานในบริเตนในช่วงเวลาหลังจากการล่มสลายของจักรวรรดิโรมัน (Fall of the Roman Empire) และก่อตั้งอาณาจักรหลายอาณาจักรในสมัยแองโกล-แซกซันของอังกฤษและ "Angles" เป็นรากของคำว่า "England" (อังกฤษ).

การพลัดถิ่นและชาวแองเกิล · ชาวจูตและชาวแองเกิล · ดูเพิ่มเติม »

ชาวแซกซัน

รูปแกะนูนแซกซันของ "irminsul" ที่เชื่อกันว่าเชื่อมระหว่างโลกกับสวรรค์ที่เอ็กซ์เทิร์นชไตเนอ (Externsteine) ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศเยอรมนีปัจจุบัน ชาวแซกซัน (Saxon; Sachsen; ละติน: Saxones) คือกลุ่มชนเผ่าเจอร์แมนิก ในปัจจุบันเป็นบรรพบุรุษของชนทางภาคเหนือของประเทศเยอรมนีที่เรียกว่าชาวเยอรมัน, ชนทางภาคตะวันออกของประเทศเนเธอร์แลนด์ที่เรียกว่าชาวดัตช์ และชนทางภาคใต้ของอังกฤษที่เรียกว่าชาวอังกฤษ ที่ตั้งถิ่นฐานเดิมที่สุดเท่าที่ทราบของชาวแซกซันคือบริเวณทางตอนเหนือของอัลบินเจียในบริเวณฮ็อลชไตน์ (Holstein) ทางตอนเหนือสุดของประเทศเยอรมนีปัจจุบัน ชาวแซกซันมีบทบาทสำคัญในการตั้งถิ่นฐานในอังกฤษโดยเฉพาะทางภาคใต้ที่ประชาชนที่อยู่อาศัยในปัจจุบันเชื่อกันว่าสีบเชี้อสายมาจากชาวแซกซันโบราณ ระหว่างสองร้อยปีที่ผ่านมาชาวแซกซันก็ไปตั้งถิ่นฐานในบริเวณต่าง ๆ ทั่วโลกโดยเฉพาะในทวีปอเมริกา ออสเตรเลีย แอฟริกา และในบริเวณที่เป็นสหภาพโซเวียตแต่เดิม ซึ่งในบางชุมชน ชาวแซกซันยังรักษาประเพณีและภาษาของตนที่เรียกกันทั่วไปว่า "ชาวเยอรมัน" และ "ชาวดัตช์" ความมีอิทธิพลทางภาษาและวัฒนธรรมของชาวแซกซันที่มีต่อบริเวณสแกนดิเนเวีย บริเวณบอลติก และต่อชาวโพเลเบียและชาวพอเมอเรเนียซึ่งเป็นชนสลาฟตะวันตก เป็นผลมาจากเส้นทางการค้าในยุคกลางของสันนิบาตฮันเซียติก ทอเลมีเป็นนักภูมิศาสตร์กรึกคนแรกที่กล่าวถึงการตั้งถิ่นฐานของชาวแซกซันยุคก่อนคริสเตียนว่าตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือและบางส่วนทางใต้ของคาบสมุทรจัตแลนด์, แคว้นแซกโซนีเก่า, และบางส่วนทางตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 5 ชาวแซกซันเป็นส่วนหนึ่งของผู้รุกรานมณฑลบริตันนิอา (Britannia) ของจักรวรรดิโรมัน ชนเผ่าหนึ่งของชาวเจอร์แมนิกที่รุกรานคือ ชาวแองเกิล ซึ่งเมื่อรวมกับ "แซกซัน" จึงกลายเป็นคำว่า "แองโกล-แซกซัน" ที่ใช้กันอยู่ทุกวันนี้.

การพลัดถิ่นและชาวแซกซัน · ชาวจูตและชาวแซกซัน · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มชนเจอร์แมนิก

การประชุมของสภาทิง (Thing) ของชนเจอร์แมนิก วาดจากภาพแกะนูนบนคอลัมน์มาร์คัส ออเรลิอัส (Marcus Aurelius) (ค.ศ. 193) กลุ่มชนเจอร์แมนิก (Germanic peoples) เป็นกลุ่มชนในประวัติศาสตร์ที่เดิมตั้งถิ่นฐานอยู่ทางตอนเหนือของยุโรปที่พูดภาษากลุ่มเจอร์แมนิกในตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียนซึ่งแยกมาจากกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกดั้งเดิมในช่วงสมัยก่อนยุคเหล็กก่อนโรมัน ผู้ที่สืบเชื้อสายมาจากกลุ่มชนนี้กลายมาเป็นต้นตระกูลของชาติพันธุ์ต่าง ๆ ทางตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปซึ่งได้แก่ ชาวสวีเดน, ชาวเดนมาร์ก, ชาวนอร์เวย์, ชาวอังกฤษ, ชาวไอซ์แลนด์, ชาวแฟโร, ชาวเยอรมัน, ชาวออสเตรีย, ชาวดัตช์, ชาวฟรีเซียน, ชาวเฟลมิช, ชาวแอฟริกาเนอร์ และรวมภาษาสกอตด้วย ชนเจอร์แมนิกย้ายถิ่นฐานไปทั่วยุโรปในปลายยุคโบราณตอนปลายระหว่างปี..

กลุ่มชนเจอร์แมนิกและการพลัดถิ่น · กลุ่มชนเจอร์แมนิกและชาวจูต · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง การพลัดถิ่นและชาวจูต

การพลัดถิ่น มี 117 ความสัมพันธ์ขณะที่ ชาวจูต มี 12 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 2.33% = 3 / (117 + 12)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การพลัดถิ่นและชาวจูต หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »