โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การผูกขาดและเอกสิทธิ์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง การผูกขาดและเอกสิทธิ์

การผูกขาด vs. เอกสิทธิ์

การผูกขาด (monopoly) เกิดเมื่อบุคคลหรือวิสาหกิจหนึ่งเป็นผู้ผลิตรายเดียวของโภคภัณฑ์อย่างหนึ่ง (ต่างจากการผูกขาดการซื้อ (monopsony) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการควบคุมตลาดเพื่อซื้อสินค้าและบริการของบุคคลหรือวิสาหกิจหนึ่ง และการผูกขาดโดยผู้ขายเพียงน้อยราย (oligopoly) ซึ่งประกอบด้วยบุคคลหรือวิสาหกิจไม่กี่รายครอบงำอุตสาหกรรมหนึ่ง) ฉะนั้น การผูกขาดจึงมีลักษณะขาดการแข่งขันทางเศรษฐกิจเพื่อผลิตสินค้าหรือบริการ ขาดสินค้าทดแทนที่อยู่รอดได้ และการมีราคาผูกขาดสูงเกินต้นทุนเพิ่มต่อหน่วย (marginal cost) ของสถานธุรกิจมาก ซึ่งนำสู่กำไรผูกขาดสูง กริยา "ผูกขาด" หมายถึง กระบวนการซึ่งบริษัทได้มาซึ่งความสามารถเพิ่มราคาหรือตัดคู่แข่ง ในทางเศรษฐศาสตร์ การผูกขาดเป็นผู้ขายรายเดียว ในวิชากฎหมาย การผูกขาด คือ สถานธุรกิจซึ่งมีอำนาจทางตลาดอย่างสำคัญ นั่นคือ อำนาจตั้งราคาสูงเกิน แม้การผูกขาดอาจเป็นธุรกิจขนาดใหญ่ แต่ขนาดมิใช่ลักษณะของการผูกขาด ธุรกิจขนาดเล็กยังอาจมีอำนาจเพิ่มราคาในอุตสาหกรรม (หรือตลาด) ขนาดเล็กได้ หมวดหมู่:โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา หมวดหมู่:ปัญหาเศรษฐกิจ. เอกสิทธ์ หมายถึง สิทธิพิเศษเฉพาะบุคคลบางคนหรือบางประเภทที่มีคุณลักษณะพิเศษบางประการ ทำให้มีความชอบธรรมในการอ้างสิทธิดังกล่าวเหนือบุคคลอื่น เช่น เอกสิทธิ์การทูต เอกสิทธิ์ของสมาชิกรัฐสภา เอกสิทธิ์ที่เกี่ยวข้องกับการเมือง ได้แก่ เอกสิทธิ์ของสมาชิกรัฐสภา บทบัญญัติในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 130 ได้กำหนดให้เอกสิทธิ์แก่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาไว้ ได้แก่ เอกสิทธิ์ในการแถลงข้อเท็จจริง แสดงความคิดเห็น ออกเสียงลงคะแนน ผู้ใดจะนำไปฟ้องร้องไม่ได้ เว้นแต่เป็นการกล่าวถ้อยคำในการประชุมที่มีการถ่ายทอดสดทางวิทยุหรือโทรทัศน์ ซึ่งมีลักษณะเป็นความผิดอาญาหรือทางแพ่งต่อบุคคลอื่นที่มิใช่รัฐมนตรี หรือสมาชิกแห่งสภา เอกสิทธิ์นี้ให้แก่สมาชิกรัฐสภา เพื่อให้สมาชิกรัฐสภาซึ่งเป็นผู้แทนของประชาชนสามารถแสดงความคิดเห็นได้อย่างเต็มที่ โดยไม่ต้องเกรงว่าจะถูกคนใดฟ้องร้อง การอภิปรายในการประชุมสภาที่สมาชิกสภาแสดงความคิดเห็นเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม แม้จะทำให้ผู้อื่นเสียหาย หรือมีความผิดฐานหมื่นประมาท ก็ไม่ถูกฟ้องทั้งทางแพ่งและทางอาญา หมวดหมู่:กฎหมาย.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การผูกขาดและเอกสิทธิ์

การผูกขาดและเอกสิทธิ์ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง การผูกขาดและเอกสิทธิ์

การผูกขาด มี 5 ความสัมพันธ์ขณะที่ เอกสิทธิ์ มี 4 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (5 + 4)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การผูกขาดและเอกสิทธิ์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »