โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การปะทุแบบพลิเนียนและปอมเปอี

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง การปะทุแบบพลิเนียนและปอมเปอี

การปะทุแบบพลิเนียน vs. ปอมเปอี

แผนภาพการปะทุแบบพลิเนียน(1) เถ้าปะทุ(2) ปล่องหินหนืด(3) เถ้าตก(4) ชั้นทับถมของหินหลอมและเถ้า(5) ชั้นหิน(6) โพรงหินหนืด การปะทุแบบพลิเนียน (Plinian eruption) คือ รูปแบบการปะทุของภูเขาไฟที่มีต้นแบบจากการปะทุของภูเขาไฟวิสุเวียสเมื่อปี ค.ศ. 79 ซึ่งทำลายเมืองปอมเปอีและเฮอร์คิวเลเนียมของจักรวรรดิโรมัน คำว่าพลิเนียนถูกตั้งตามชื่อพลินีผู้เยาว์ ผู้บรรยายลักษณะการปะทุของภูเขาไฟวิสุเวียสไว้ในจดหมายฉบับหนึ่ง และผู้ซึ่งลุงของเขา พลินีผู้อาวุโส เสียชีวิตจากเหตุการณ์ครั้งนี้ การปะทุแบบพลิเนียนมีลักษณะเด่น ได้แก่ การเกิดลำก๊าซและเถ้าภูเขาไฟตั้งสูงขึ้นไปในบรรยากาศชั้นสตราโทสเฟียร์ ซึ่งเป็นบรรยากาศชั้นที่สองของโลก การขับหินพัมมิสออกจากปากปล่องในปริมาณมาก และการปะทุเป่าก๊าซออกมาอย่างต่อเนื่องและรุนแรง เมื่อเทียบระดับความรุนแรงตามดัชนีการระเบิดของภูเขาไฟ (Volcanic Explosivity Index; VEI) การปะทุแบบพลิเนียนจะมีค่าดัชนีอยู่ระหว่าง 4-6 นอกจากนี้ยังมีการกำหนดการปะทุแบบ "ซับพลิเนียน" (sub-Plinian) มีระดับความรุนแรง 3 หรือ 4 และแบบ "อัลตราพลิเนียน" (ultra-Plinian) มีระดับความรุนแรง 6-8 การปะทุแบบสั้นอาจจบได้ภายในวันเดียว การปะทุแบบยาวอาจดำเนินตั้งแต่หลายวันจนถึงหลายเดือน ซึ่งการปะทุแบบยาวจะเริ่มต้นด้วยการก่อตัวของเมฆเถ้าภูเขาไฟและบางครั้งก็เกิดการไหลไพโรคลาสติก หินหนืด (แมกมา) อาจถูกพ่นออกมาจากโพรงหินหนืดใต้ภูเขาไฟจนหมด ทำให้ยอดภูเขาไฟยุบตัวลงเกิดเป็นแอ่งภูเขาไฟรูปกระจาด (caldera) ส่วนเถ้าละเอียดอาจตกลงมาทับถมกันเป็นบริเวณกว้าง และบ่อยครั้งที่การปะทุแบบพลิเนียนทำให้เกิดเสียงดังมาก เช่นจากการปะทุของภูเขาไฟกรากะตัวในอินโดนีเซียเมื่อปี.. แผนที่ของภูเขาไฟวิสุเวียส นครปอมเปอี และเมืองใกล้เคียง ขณะวิสุเวียสระเบิด วันนั้น ทิศทางลมพัดเถ้าถ่านลอยมาที่ปอมเปอี ผู้เสียชีวิตในปอมเปอี ร่างกายถูกความร้อนหลอมจนในเวลาต่อมาเกิดเป็นโพรงขึ้นภายในซากชั้นธรณี ในการขุดค้นทางโบราณคดีจึงต้องหาโพรงดังกล่าว และเทปูนหล่อปลาสเตอร์เข้าไป เพื่อทำให้เห็นเป็นร่างผู้เสียชีวิตในอิริยาบทขณะเกิดวิบัติภัยจากธรรมชาติครั้งนั้น ภาพวาดหายนะของปอมเปอีโดย Karl Brullov วาดขึ้นในช่วง ค.ศ. 1830-1833 ปอมเปอี (Pompeii) เป็นนครโรมันโบราณที่ถูกฝังบางส่วนใกล้กับเมืองเนเปิลส์สมัยใหม่ ในแคว้นคัมปาเนีย ประเทศอิตาลี ปอมเปอีถูกทำลายบางส่วนและถูกฝังใต้เถ้าและหินภูเขาไฟหนา 4 ถึง 6 เมตร จากเหตุภูเขาไฟวิสุเวียสปะทุใน..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การปะทุแบบพลิเนียนและปอมเปอี

การปะทุแบบพลิเนียนและปอมเปอี มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): เฮอร์คิวเลเนียม

เฮอร์คิวเลเนียม

อร์คิวเลเนียม (Herculaneum) คือเมืองโรมันโบราณที่ตั้งอยู่ในบริเวณที่เรียกว่าแอร์โกลาโนในปัจจุบันของประเทศอิตาลี “เฮอร์คิวเลเนียม” ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยองค์การยูเนสโกเมื่อปี..

การปะทุแบบพลิเนียนและเฮอร์คิวเลเนียม · ปอมเปอีและเฮอร์คิวเลเนียม · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง การปะทุแบบพลิเนียนและปอมเปอี

การปะทุแบบพลิเนียน มี 28 ความสัมพันธ์ขณะที่ ปอมเปอี มี 4 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 3.12% = 1 / (28 + 4)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การปะทุแบบพลิเนียนและปอมเปอี หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »