เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

การประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการโดย สกว.และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง การประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการโดย สกว.และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

การประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการโดย สกว. vs. คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ได้เริ่มจัดการประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ตั้งแต.. ณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นหน่วยงานระดับคณะวิชาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีพระราชกฤษฎีกาประกาศตั้งเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2490 มีผลบังคับใช้ในวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2490 ภายใต้มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ จนกระทั่งถูกโอนมาสังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปี พ.ศ. 2510 เป็นคณะแพทยศาสตร์แห่งที่ 2 ของประเทศไทย ถือกำเนิดจากพระราชปรารภในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร รัชกาลที่ 8 การดำเนินการจัดตั้งคณะแพทยศาสตร์แห่งนี้เริ่มขึ้นภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลงเพียงแปดเดือนเท่านั้น ถือเป็นช่วงเวลาที่ประเทศไทย ประสบความยากลำบากทางการเมืองและเศรษฐกิจเป็นอย่างยิ่ง อีกทั้งจำเป็นต้องมีการบูรณะบ้านเมืองที่เสียหายจากการทิ้งระเบิด คณะแพทยศาสตร์แห่งนี้จึงมีส่วนสำคัญในการพัฒนาวงการสาธารณสุขของประเทศ ในช่วงเวลาที่ประเทศกำลังอยู่ในภาวะวิกฤต ควบคู่ไปกับการพัฒนามาตรฐานแพทยศาสตรศึกษา ปัจจุบันคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นศูนย์ความร่วมมือขององค์การอนามัยโลก 3 สาขา ได้แก่ ศูนย์ความร่วมมือด้านแพทยศาสตรศึกษา ศูนย์ความร่วมมือด้านการวิจัยการสืบพันธุ์ของมนุษย์ ศูนย์ความร่วมมือด้านการวิจัยและฝึกอบรมด้านไวรัสและโรคติดต่อจากสัตว์สู่คน คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยดำเนินงานร่วมกับโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทยสภากาชาดไท.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการโดย สกว.และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

การประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการโดย สกว.และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มี 10 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2550พ.ศ. 2554กุมารเวชศาสตร์ศัลยศาสตร์สูติศาสตร์อายุรศาสตร์จุลชีววิทยาคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดลนรีเวชศาสตร์1 ตุลาคม

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

การประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการโดย สกว.และพ.ศ. 2550 · คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

การประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการโดย สกว.และพ.ศ. 2554 · คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

กุมารเวชศาสตร์

การตรวจร่างกายเด็ก กุมารเวชศาสตร์ เป็นสาขาวิชาหนึ่งของแพทยศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลทางการแพทย์แก่ทารก, เด็ก, และวัยรุ่น กล่าวคือตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุประมาณ 14-18 ปีขึ้นกับเกณฑ์ของแต่ละสถานที่และประเทศ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านกุมารเวชศาสตร์จะเรียกว่า กุมารแพทย์ (pediatrician) ซึ่งต้องสำเร็จการศึกษาแพทยศาสตรบัณฑิต และแพทย์ประจำบ้านด้านกุมารเวชศาสตร์ แล้วได้ผ่านการสอบเพื่อวุฒิบัตรและหนังสืออนุมัติเป็นผู้มีความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขากุมารเวชศาสตร์ ซึ่งในประเทศไทยออกให้โดยแพทยสภา คำว่า pediatrics มาจากรากศัพท์ในภาษากรีก παῖdh pais แปลว่าเด็ก และ ἰατρός iatros แปลว่าแพทย์หรือผู้รักษา เมื่อรวมกันจึงแปลว่า ผู้ที่รักษาเด็ก สำหรับในภาษาไทย "กุมาร" หมายถึง เด็กเล็ก ซึ่งมาจากภาษาบาลี หมายถึง "เด็กผู้ชาย" หรือ "บุตรชาย".

การประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการโดย สกว.และกุมารเวชศาสตร์ · กุมารเวชศาสตร์และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

ศัลยศาสตร์

ัลยแพทย์ทรวงอกกำลังผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจ ศัลยศาสตร์ หรือ ศัลยกรรม (surgery) เป็นการแพทย์เฉพาะทางที่เกี่ยวข้องกับการใช้หัตถการหรือเครื่องมือในการผ่าตัดเข้าในร่างกายผู้ป่วยเพื่อสืบค้นอาการ และ/หรือรักษาความผิดปกติ เช่น โรค หรือการบาดเจ็บต่าง ๆ เพื่อช่วยในการแก้ไขการทำงานหรือรูปลักษณ์ของร่างกาย หรือด้วยเหตุผลอื่น ๆ เรียกแพทย์ที่ศึกษามาเฉพาะทางศัลยศาสตร์ว่า ศัลยแพทย์ (surgeon) ศัลยแพทย์ในประเทศไทยต้องสำเร็จการศึกษาแพทยศาสตรบัณฑิต และสำเร็จการศึกษาแพทย์ประจำบ้านด้านศัลยศาสตร์แล้วได้ผ่านการสอบเพื่อวุฒิบัตรและหนังสืออนุมัติเป็นผู้มีความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาศัลยศาสตร์ ของแพทยสภา และเป็นสมาชิกของราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่งประเทศไท.

การประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการโดย สกว.และศัลยศาสตร์ · คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและศัลยศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

สูติศาสตร์

ูติศาสตร์ (Obstetrics; มาจากภาษาละติน obstare การเตรียมพร้อม) เป็นศัลยศาสตร์เฉพาะทางที่เกี่ยวกับการดูแลผู้หญิงและทารกระหว่างการตั้งครรภ์, การคลอด, และระยะหลังคลอด ส่วนการผดุงครรภ์ (Midwifery) นั้นจะไม่อาศัยทักษะการศัลยศาสตร์ สูติแพทย์ส่วนมากมักจะเป็นแพทย์นรีเวชวิทยาด้วย ดูที่สูตินรีเวชวิทยา (Obstetrics and gynaecology) ระยะการตั้งครรภ์โดยเฉลี่ยของมนุษย์คืออายุครรภ์ประมาณ 40 สัปดาห์ หรือ 38 สัปดาห์นับจากวันปฏิสนธิ แบ่งออกเป็นสามไตรม.

การประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการโดย สกว.และสูติศาสตร์ · คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสูติศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

อายุรศาสตร์

อายุรศาสตร์ (เรียกย่อๆ ว่า medicine) เป็นสาขาหนึ่งของการแพทย์เฉพาะทางซึ่งเกี่ยวกับการป้องกัน การวินิจฉัยและการรักษาโรคและความผิดปกติในร่างกายผู้ใหญ่ เรียกแพทย์ที่ศึกษามาเฉพาะทางอายุรศาสตร์ว่า อายุรแพทย์ (internists) ซึ่งต้องสำเร็จการศึกษาแพทยศาสตรบัณฑิต และสำเร็จการศึกษาเป็นแพทย์ประจำบ้านด้านอายุรศาสตร์ได้ผ่านการสอบเพื่อประกาศนียบัตรบัณฑิตสาขาวิชาอายุรศาสตร์ และได้รับวุฒิบัตรหรือหนังสืออนุมัติเป็นผู้มีความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาอายุรศาสตร์ หรือสาขาต่างๆทางอายุรศาสตร์ ซึ่งในประเทศไทยออกให้โดยแพท.

การประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการโดย สกว.และอายุรศาสตร์ · คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอายุรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

จุลชีววิทยา

นอาหารวุ้นซึ่งมีเชื้อจุลินทรีย์เห็นเป็นริ้วลายเส้น จุลชีววิทยา (Microbiology) คือการศึกษาเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตซึ่งมองไม่เห็นด้วยตาเปล่า ซึ่งเรียกว่าจุลินทรีย์ ได้แก่ แบคทีเรีย โปรโตซัว ไวรัส เชื้อรา และ สาหร.

การประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการโดย สกว.และจุลชีววิทยา · คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและจุลชีววิทยา · ดูเพิ่มเติม »

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล นับได้ว่าเป็นคณะที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดของประเทศไทย โดยมีต้นกำเนิดมาจากโรงเรียนแพทยากร และพัฒนามาจนกระทั่งเป็น คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ปัจจุบันคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มีอายุ 128 ปี มีแพทย์สำเร็จการศึกษาทั้งหมด 121 รุ่น นักศึกษาแพทย์ปีการศึกษา 2560 นี้นับเป็นรุ่นที่ 128.

การประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการโดย สกว.และคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล · คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

นรีเวชศาสตร์

นรีเวชศาสตร์ หรือ นรีเวชวิทยา หรือ วิทยาเพศหญิง (gynaecology, gynecology) หมายถึงศัลยศาสตร์เฉพาะทางที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพของระบบสืบพันธุ์เพศหญิง เช่น มดลูก ช่องคลอดและรังไข่ แพทย์นรีเวชวิทยาส่วนมากมักเป็นสูติแพทย์ด้วย ดูที่สูตินรีเวชวิทยา (Obstetrics and gynaecology) สำหรับในทางสัตวแพทยศาสตร์ จะเรียกสาขาวิชานี้ว่า เธนุเวชวิท.

การประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการโดย สกว.และนรีเวชศาสตร์ · คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนรีเวชศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

1 ตุลาคม

วันที่ 1 ตุลาคม เป็นวันที่ 274 ของปี (วันที่ 275 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 91 วันในปีนั้น.

1 ตุลาคมและการประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการโดย สกว. · 1 ตุลาคมและคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง การประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการโดย สกว.และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

การประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการโดย สกว. มี 108 ความสัมพันธ์ขณะที่ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มี 184 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 10, ดัชนี Jaccard คือ 3.42% = 10 / (108 + 184)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการโดย สกว.และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: