โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การปฏิวัติรัสเซียและโพกรม

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง การปฏิวัติรัสเซียและโพกรม

การปฏิวัติรัสเซีย vs. โพกรม

การปฏิวัติรัสเซีย (Russian Revolution) คือภาพรวมของระลอกการปฏิวัติในรัสเซียช่วงปี.. การจลาจลเฮ็พ-เฮ็พ (Hep-Hep riots) ในปี ค.ศ. 1819 ทางด้านซ้ายชาวนาสตรีสองคนโจมตีชายชาวยิวด้วยคราดและไม้กวาด ทางด้านขวาชายใส่แว่นตามีหางใส่เสื้อกั๊กหกกระดุมผู้อาจจะเป็นเภสัชกรหรือครูAmos Elon (2002), ''The Pity of It All: A History of the Jews in Germany, 1743–1933''. Metropolitan Books. ISBN 0-8050-5964-4. p. 103 ถูกบีบคอและกำลังจะถูกตีหัว ภาพพิมพ์กัดกรดโดยโยฮันน์ มิเคิล โวลทซ์ โพกรม หรือ การจลาจลโพกรม (Pogrom) เป็นลักษณะหนึ่งของการก่อความไม่สงบหรือการจลาจลในการต่อต้านกลุ่มคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งที่อาจจะมีลักษณะร่วมกันทางชาติพันธุ์, ศาสนา, เชื้อชาติ หรืออื่นๆ ที่อาจจะออกมาในรูปของการเข่นฆ่า หรือการทำลายทรัพย์สินบ้านเรือน, ธุรกิจ หรือศาสนสถานที่อาจจะเกิดขึ้นโดยมีการวางแผนล่วงหน้าหรือไม่มีก็ได้ คำนี้เดิมใช้ในการสร้างความเสียหายและทำร้ายชาวยิว แต่ในภาษาอังกฤษ “โพกรม” ไม่จำกัดเพียงการสร้างความเสียหายและทำร้ายเฉพาะแต่ชาวยิวเท่านั้นแต่ยังรวมถึงกลุ่มอื่นๆ ที่กล่าวข้างต้น ที่มาของคำว่า “โพกรม” ในภาษาอังกฤษ “Pogrom” (погром) มาจากคำกิริยา “громить” ที่แปลว่าทำลาย, ก่อความวุ่นวาย, การทำลายอย่างรุนแรง ยูริ อาฟเนริบรรยาย “โพกรม” ว่าเป็น “การจลาจลโดยประชาชนผู้ถืออาวุธที่มัวเมาไปด้วยความเกลียดชังต่อผู้ที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ขณะที่ตำรวจและทหารยืนดูอยู่โดยไม่เข้าเกี่ยวข้อง”.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การปฏิวัติรัสเซียและโพกรม

การปฏิวัติรัสเซียและโพกรม มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง การปฏิวัติรัสเซียและโพกรม

การปฏิวัติรัสเซีย มี 25 ความสัมพันธ์ขณะที่ โพกรม มี 6 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (25 + 6)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การปฏิวัติรัสเซียและโพกรม หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »