ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การปฏิวัติ ค.ศ. 1989และประเทศเยอรมนีตะวันออก
การปฏิวัติ ค.ศ. 1989และประเทศเยอรมนีตะวันออก มี 6 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): การรวมประเทศเยอรมนีกำแพงเบอร์ลินกติกาสัญญาวอร์ซอสหภาพโซเวียตสงครามเย็นประเทศเชโกสโลวาเกีย
การรวมประเทศเยอรมนี
ผู้คนออกมารวมตัว ณ กำแพงเบอร์ลิน การรวมประเทศเยอรมนี (Deutsche Wiedervereinigung) เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในปี..
การปฏิวัติ ค.ศ. 1989และการรวมประเทศเยอรมนี · การรวมประเทศเยอรมนีและประเทศเยอรมนีตะวันออก ·
กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน ภาพถ่ายจากฝั่งเบอร์ลินตะวันตก เมื่อปี พ.ศ. 2529 กำแพงเบอร์ลิน (Berlin Wall; Berliner Mauer) เป็นกำแพงที่สร้างขึ้นช่วงสงครามเย็น มีวัตถุประสงค์เพื่อปิดกั้นพรมแดนระหว่างเบอร์ลินตะวันตกซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเยอรมนีตะวันตก กับเยอรมนีตะวันออกที่โอบอยู่โดยรอบ มีความยาวทั้งสิ้น 155 กิโลเมตร เริ่มสร้างเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2504 (ค.ศ. 1961) และปิดกั้นพรมแดนนี้เป็นระยะเวลา 28 ปี ก่อนถูกทลายในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 ในเยอรมนีตะวันออก กำแพงเบอร์ลิน คือ แนวเขตแดนที่มั่นคง และสัญลักษณ์ของการต่อต้านทุนนิยม มันถูกเรียกอย่างเป็นทางการว่า "แนวป้องกันการต่อต้านฟาสซิตส์" แต่สำหรับโลกเสรีแล้ว มันคือ สัญลักษณ์ของความขัดแย้งระหว่างระบบทุนนิยมของยุโรปตะวันตก ภายใต้การนำของสหรัฐอเมริกา กับระบบคอมมิวนิสต์ของยุโรปตะวันออก ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต หรือที่เรียกกันว่า สงครามเย็น นั่นเอง กำแพงเบอร์ลิน ทำให้กรุงเบอร์ลินฝั่งตะวันตก กลายเป็นเสมือน หน้าต่างสู่เสรีภาพ นับตั้งแต่การสร้างกำแพงเบอร์ลิน การข้ามผ่านแดนจากเยอรมนีตะวันออก ไปยังเยอรมนีตะวันตก กลายเป็นเรื่องผิดกฎหมาย หากมีการฝ่าฝืนและถูกพบเห็น มีโทษสถานเดียว คือ การยิงทิ้ง ณ บริเวณกำแพงนั่นเอง ตลอดระยะเวลา 28 ปี คาดว่ามีผู้เสียชีวิตที่กำแพงเบอร์ลินขณะหลบหนีระหว่าง 137 ถึง 206 คน.
การปฏิวัติ ค.ศ. 1989และกำแพงเบอร์ลิน · กำแพงเบอร์ลินและประเทศเยอรมนีตะวันออก ·
กติกาสัญญาวอร์ซอ
กติกาสัญญาวอร์ซอ (Warsaw Pact) หรือชื่อทางการว่า สนธิสัญญาแห่งไมตรี ความร่วมมือ และการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน (Treaty of Friendship, Co-operation, and Mutual Assistance; Договор о дружбе, сотрудничестве и взаимной помощи) บางครั้งเรียกขานอย่างไม่เป็นทางการว่า วอร์แพ็ก (WarPac) เป็นกติกาสัญญาด้านความมั่นคงร่วมกันระหว่างสหภาพโซเวียตกับรัฐบริวารของตนอีกเจ็ดแห่งในยุโรปตอนกลางและตะวันออกระหว่างช่วงสงครามเย็น กติกาสัญญาวอร์ซอเป็นส่วนเพิ่มด้านการทหารของคณะกรรมาธิการเพื่อการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจระหว่างกันหรือ โคเมคอน (Council for Mutual Economic Assistance; CoMEcon) ซึ่งเป็นองค์การทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคสำหรับรัฐคอมมิวนิสต์ในยุโรปตอนกลางและตะวันออก ทั้งนี้กติกาสัญญาวอร์ซอก่อตั้งขึ้นเพื่อตอบโต้การที่เยอรมนีตะวันตกเข้าร่วมกับองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (เนโท)"In reaction to West Germany’s NATO accession, the Soviet Union and its Eastern European client states formed the Warsaw Pact in 1955." Citation from: ในปี..
กติกาสัญญาวอร์ซอและการปฏิวัติ ค.ศ. 1989 · กติกาสัญญาวอร์ซอและประเทศเยอรมนีตะวันออก ·
สหภาพโซเวียต
หภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (Сою́з Сове́тских Социалисти́ческих Респу́блик - CCCP; Union of Soviet Socialist Republics - USSR) หรือย่อเป็น สหภาพโซเวียต (Soviet Union) เป็นประเทศอภิมหาอำนาจในอดีตบนทวีปยูเรเชีย ระหว่างปี..
การปฏิวัติ ค.ศ. 1989และสหภาพโซเวียต · ประเทศเยอรมนีตะวันออกและสหภาพโซเวียต ·
สงครามเย็น
กำแพงเบอร์ลินจากฝั่งตะวันตก กำแพงถูกสร้างใน ค.ศ. 1961 เพื่อป้องกันมิให้ชาวเยอรมันตะวันออกหนีและหยุดการหลั่งไหลของแรงงานซึ่งเป็นภัยพิบัติทางเศรษฐกิจ มันเป็นสัญลักษณ์ของสงครามเย็นและการทลายกำแพงใน ค.ศ. 1989 เป็นสัญลักษณ์ว่าสงครามเย็นใกล้ยุติ สงครามเย็น (Cold War Холодная война) เป็นสถานะความตึงเครียดทางการเมืองและการทหารหลังสงครามโลกครั้งที่สองระหว่างประเทศในกลุ่มตะวันตก (สหรัฐอเมริกา พันธมิตรเนโท ฯลฯ) และประเทศในกลุ่มตะวันออก (สหภาพโซเวียตและพันธมิตรในสนธิสัญญาวอร์ซอ) นักประวัติศาสตร์ยังไม่ตกลงกันทั้งหมดว่าสงครามเย็นคือช่วงใดกันแน่ แต่ส่วนใหญ่ถือ..
การปฏิวัติ ค.ศ. 1989และสงครามเย็น · ประเทศเยอรมนีตะวันออกและสงครามเย็น ·
ประเทศเชโกสโลวาเกีย
right right เชโกสโลวาเกีย เป็นอดีตประเทศในยุโรปกลาง ปัจจุบันแยกออกเป็นสาธารณรัฐเช็กและประเทศสโลวาเกี.
การปฏิวัติ ค.ศ. 1989และประเทศเชโกสโลวาเกีย · ประเทศเชโกสโลวาเกียและประเทศเยอรมนีตะวันออก ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ การปฏิวัติ ค.ศ. 1989และประเทศเยอรมนีตะวันออก มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง การปฏิวัติ ค.ศ. 1989และประเทศเยอรมนีตะวันออก
การเปรียบเทียบระหว่าง การปฏิวัติ ค.ศ. 1989และประเทศเยอรมนีตะวันออก
การปฏิวัติ ค.ศ. 1989 มี 49 ความสัมพันธ์ขณะที่ ประเทศเยอรมนีตะวันออก มี 24 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 6, ดัชนี Jaccard คือ 8.22% = 6 / (49 + 24)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การปฏิวัติ ค.ศ. 1989และประเทศเยอรมนีตะวันออก หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: