โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การปฏิรูปคาทอลิกและพระหฤทัยของพระเยซู

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง การปฏิรูปคาทอลิกและพระหฤทัยของพระเยซู

การปฏิรูปคาทอลิก vs. พระหฤทัยของพระเยซู

การปฏิรูปคาทอลิกราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 147 (Catholic Reformation) หรือการปฏิรูปคู่เคียง (Counter-Reformation), from Encyclopædia Britannica Online, latest edition, full-article. '''พระหฤทัยของพระเยซู''' ความศรัทธาต่อพระหฤทัยของพระเยซู (the Sacred Heart of Jesus) เป็นการอุทิศตนรูปแบบหนึ่งของคริสต์ศาสนิกชนโรมันคาทอลิกต่อพระหฤทัยของพระเยซู เพราะเชื่อว่าพระหฤทัยเป็นสัญลักษณ์ของความรักที่พระเจ้ามีต่อมนุษยชาติ การอุทิศตนรูปแบบนี้พบทั้งในกลุ่มชาวโรมันคาทอลิก ชาวแองกลิคันไฮเชิร์ช และชาวลูเทอแรน โดยเน้นถึงการที่พระหฤทัยของพระเยซูได้ทรงเมตตากรุณาและทนทุกข์ทรมานเพื่อมวลมนุษย์ เชื่อกันว่ามีผู้อุทิศตนรูปแบบนี้มาตั้งแต่สมัยกลาง เพราะเป็นช่วงที่รหัสยลัทธิในศาสนาคริสต์กำลังเป็นที่นิยม แต่รูปแบบที่แพร่หลายในปัจจุบันถือว่ามาจากการเผยแพร่ของนักบุญมาร์เกอริต-มารี อาลาก็อก นักพรตหญิงคณะแม่พระเสด็จเยี่ยม ผู้ได้เห็นนิมิตพระเยซูมาสอนให้อุทิศตนต่อพระหฤทัยของพระองค์ ในคริสตจักรโรมันคาทอลิก พระหฤทัยของพระเยซูเป็นแนวความเชื่อที่ใกล้เคียงกับกิจการชดใช้ต่อพระเยซูคริสต์ สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 11 กล่าวไว้ในพระสมณสาสน์ Miserentissimus Redemptor ว่า "เจตนามณ์ของการชดใช้บาปที่สำคัญที่สุดเป็นอันดับหนึ่งอยู่ที่คารวกิจต่อพระหฤทัยศักดิ์สิทธิ์ของพระเยซู"Miserentissimus Redemptor พระสมณสาสน์ในสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 11 http://www.vatican.va/holy_father/pius_xi/encyclicals/documents/hf_p-xi_enc_08051928_miserentissimus-redemptor_en.html แม้แต่บทภาวนาต่อพระพักตร์อันศักดิ์สิทธิ์ที่แพร่หลายในคริสตจักรก็อ้างอิงความศักดิ์สิทธิ์ของพระหฤทัยของพระเยซูเช่นกัน ในงานศิลปะมักแสดงรูปพระหฤทัยของพระเยซูในรูปของหัวใจที่มีไฟลุกและมีรัศมีส่องสว่างออกมา มีมงกุฎหนามล้อม มีไม้กางเขนตั้งอยู่และพระโลหิตไหนออกมา บางรูปเป็นพระหฤทัยส่องสว่างออกมาจากพระอุระของพระเยซู โดยมีพระหัตถ์ที่มีรอยแผลชี้ไปที่พระหฤทัยนั้น บาดแผลและมงกฎหนามแสดงถึงการตรึงพระเยซูที่กางเขนจนสิ้นพระชนม์ ไฟและรัศมีแสดงถึงพลังความรักของพระเจ้า ตามปฏิทินพิธีกรรมของคริสตจักรโรมันคาทอลิก วันสมโภชพระหฤทัยของพระเยซูเจ้าจะจัดขึ้นในวันที่ 19 หลังจากเทศกาลเพนเทคอสต์ เพนเทคอสต์ตรงกับวันอาทิตย์การสมโภชพระหฤทัยจึงตรงกับวันศุกร์เสมอ.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การปฏิรูปคาทอลิกและพระหฤทัยของพระเยซู

การปฏิรูปคาทอลิกและพระหฤทัยของพระเยซู มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พระเยซูคณะนักบวชคาทอลิกโรมันคาทอลิก

พระเยซู

ระเยซู (Jesus) หรือ เยซูชาวนาซาเร็ธ (Jesus of Nazareth; 4-2 ปีก่อนคริสตกาล - ค.ศ. 30-33Sanders (1993).) เป็นชาวยิวผู้เป็นศาสดาของศาสนาคริสต์ คริสต์ศาสนิกชนเรียกพระองค์ว่า พระเยซูคริสต์ เพราะถือว่าพระองค์เป็นพระคริสต์ พระผู้ช่วยให้รอด เป็นพระบุตรพระเป็นเจ้า และเป็นพระเจ้าพระบุตรซึ่งเป็นพระบุคคลหนึ่งในพระตรีเอกภาพ นอกจากนี้ในคัมภีร์ไบเบิลยังบันทึกว่าพระเยซูทรงแสดงปาฏิหาริย์ทรงรักษาคนตาบอดให้หายขาด รักษาคนพิการ โดยตรัสว่า บาปของเจ้าได้รับการให้อภัยแล้ว หลังพระเยซูสิ้นพระชนม์ ก็ได้ทรงฟื้นขึ้นจากความตายหลังสิ้นพระชนม์ได้เพียง 3 วัน และเสด็จขึ้นสู่สวรรค์ ชาวมุสลิมก็ให้ความเคารพพระเยซูเช่นกัน แต่เชื่อต่างจากชาวคริสต์ โดยชาวมุสลิมเรียกพระเยซูว่านบีอีซา คัมภีร์อัลกุรอานระบุว่าพระเยซูไม่ใช่ทั้งพระเจ้าและพระบุตรของพระเจ้า แต่เป็นบ่าวคนหนึ่งของพระเจ้า และเป็นเราะซูลที่พระเจ้าส่งมาเป็นแบบอย่างทางศีลธรรมให้แก่ชาวอิสราเอลเช่นเดียวกับเราะซูลอื่น ๆ นอกจากนี้กุรอานยังอ้างว่าพระเยซูได้ทำนายถึงเราะซูลอีกท่านหนึ่งที่จะมาในอนาคตด้วยว่าชื่ออะหมัด คำว่า "เยซู" มาจากคำในภาษากรีกคือ "เยซุส" Ιησους ซึ่งมาจากการถ่ายอักษรชื่อ Yeshua ในภาษาแอราเมอิกหรือฮีบรูอีกทอดหนึ่ง คริสตชนอาหรับเรียกเยซูว่า "ยาซูอฺ" ตามภาษาซีรีแอก ส่วนชาวอาหรับมุสลิมเรียกว่า "อีซา" ตามอัลกุรอาน ความหมายคือ "ผู้ช่วยให้รอด" เป็นชื่อที่ใช้กันมากในหมู่ชาวยิวตั้งแต่สมัยโยชูวาเป็นต้นมา ภาษาละตินแผลงเป็นเยซูส ภาษาโปรตุเกสแผลงต่อเป็นเยซู ภาษาไทยทับศัพท์ภาษาโปรตุเกสมาจนทุกวันนี้ ส่วนคำว่า "คริสต์" เป็นสมญาซึ่งมาจากคำในภาษากรีกว่า "คริสตอส" Χριστός ซึ่งเป็นคำแปลของคำภาษาฮีบรู Messiah อันหมายถึง "ผู้ได้รับการเจิม" ชาวอาหรับเรียกว่า "มะซีฮฺ" ซึ่งหมายถึงการแต่งตั้งให้ทำหน้าที่สูงส่ง เช่น พระมหากษัตริย์ ปุโรหิต ผู้เผยพระวจนะ เป็นต้น เมื่อราชอาณาจักรยูดาห์เสียแก่บาบิโลน ก็สิ้นกษัตริย์ที่ได้รับการเจิม ต่อจากนั้นชาวยิวก็โหยหาพระเมสสิยาห์ที่จะมาสร้างอาณาจักรใหม่ของพระเจ้า "พระคริสต์" จึงเป็นชื่อตำแหน่ง ไม่ใช่ชื่อตัวบุคคล ผู้นิพนธ์พระวรสารสี่ท่านมักเรียกพระองค์ว่า "พระเยซู" และเพื่อให้แตกต่างจากคนอื่น ๆ ที่ชื่อเหมือนกัน ก็เรียกเป็น "พระเยซูชาวนาซาเรธ" หรือ "พระเยซูบุตรของโยเซฟ" แต่นักบุญเปาโลหรือเปาโลอัครทูตมักเรียกพระองค์ว่า "พระคริสต์" หรือ "พระเยซูคริสต์" ที่เรียกว่า "พระคริสต์เยซู" ก็มี.

การปฏิรูปคาทอลิกและพระเยซู · พระหฤทัยของพระเยซูและพระเยซู · ดูเพิ่มเติม »

คณะนักบวชคาทอลิก

ในคริสตจักรโรมันคาทอลิก คณะนักบวช หรือ สถาบันนักบวช (religious institute) เป็นสถาบันชีวิตที่ถวายแล้วประเภทหนึ่ง สมาชิกประกอบด้วยชาวคาทอลิกที่สละชีวิตทางโลกมาถือคำปฏิญาณของนักบวชตลอดชีวิต เพื่ออุทิศตนทำงานรับใช้พระศาสนจักรเพียงอย่างเดียว และอยู่รวมกันเป็นคณะ (order/society/congregation) โดยแต่ละคณะมีแนวทางการทำงานและเน้นวัตรปฏิบัติแตกต่างกันไป นอกจากเรียกว่า "คณะนักบวช" แล้ว ราชบัณฑิตยสถานยังใช้คำว่า คณะนักพรต และ คณะนักบวชถือพรต โดยถือว่ามีความหมายเดียวกันราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 163, 421-2 ส่วนประมวลกฎหมายพระศาสนจักร ค.ศ. 1983 ฉบับภาษาไทย ใช้คำว่า คณะสถาบันนักพรต.

การปฏิรูปคาทอลิกและคณะนักบวชคาทอลิก · คณะนักบวชคาทอลิกและพระหฤทัยของพระเยซู · ดูเพิ่มเติม »

โรมันคาทอลิก

ระศาสนจักรคาทอลิก (Catholic Church) หรือ คริสตจักรโรมันคาทอลิก (Roman Catholic Church) เป็นคริสตจักรที่ใหญ่ที่สุดในโลกซึ่งมีศาสนิกชนกว่าพันล้านคน มีพระสันตะปาปาเป็นประมุข มีพันธกิจหลักคือ การประกาศข่าวดีเรื่องพระเยซูคริสต์ โปรดศีลศักดิ์สิทธิ์ และปฏิบัติกิจเมตตา ศาสนจักรคาทอลิกเป็นสถาบันที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและมีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์อารยธรรมตะวันตกO'Collins, p. v (preface).

การปฏิรูปคาทอลิกและโรมันคาทอลิก · พระหฤทัยของพระเยซูและโรมันคาทอลิก · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง การปฏิรูปคาทอลิกและพระหฤทัยของพระเยซู

การปฏิรูปคาทอลิก มี 12 ความสัมพันธ์ขณะที่ พระหฤทัยของพระเยซู มี 27 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 7.69% = 3 / (12 + 27)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การปฏิรูปคาทอลิกและพระหฤทัยของพระเยซู หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »