โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และเจ้าชายควังแฮ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และเจ้าชายควังแฮ

การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98) vs. เจ้าชายควังแฮ

การรุกรานเกาหลีของญี่ปุ่น คือ เหตุการณ์สู้รบบนคาบสมุทรเกาหลีและยุทธการที่เกิดขึ้นตามมา ในช่วงระหว่าง.. ้าชายควังแฮ (광해군 光海君; ค.ศ. 1574 — ค.ศ. 1641) พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 15 แห่งราชอาณาจักรโชซอนโดยครองราชย์ในช่วงปี ค.ศ. 1608 — ค.ศ. 1623 แต่ไม่ได้รับพระนามกษัตริย์เนื่องจากถูกยึดอำนาจจากฝ่ายตะวันตกใน ค.ศ. 1623 ในฐานะองค์ชายรัชทายาทองค์ชายควังแฮยืนหยัดนำทัพเกาหลีต่อต้าน การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (พ.ศ. 2135–2141) ในขณะที่ พระเจ้าซอนโจ พระบิดาหลบหนีไปยังประเทศจีน หลังการรุกรานของญี่ปุ่นองค์ชายควังแฮได้รับการสนับสนุนจากขุนนางฝ่ายเหนือใหญ่หรือแทบุก (대북 大北) ให้ขึ้นครองราชสมบัติแต่ถูกต่อต้านโดยขุนนางฝ่ายเหนือเล็กหรือโซบุก (소북 小北) ที่สนับสนุนองค์ชายยองชัง พระอนุชาต่างมารดาที่ประสูติจากพระมเหสี ในรัชสมัยของพระองค์ขุนนางฝ่ายเหนือใหญ่ได้ทำการปราบปรามขุนนางฝ่ายเหนือเล็กอย่างรุนแรงรวมทั้งผลักดันให้มีการสำเร็จโทษประหารชีวิตองค์ชายยองชังและกักขังพระพันปีอินมก จนเป็นข้ออ้างให้ขุนนางฝ่ายตะวันตกก่อการรัฐประหารในปีค.ศ. 1623 ล้มองค์ชายควังแฮลงจากราชบัลลังก์และเนรเทศไปยังเกาะคังฮวาในที.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และเจ้าชายควังแฮ

การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และเจ้าชายควังแฮ มี 8 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชาวแมนจูพระราชวังคย็องบกพระเจ้าซ็อนโจแห่งโชซ็อนราชวงศ์หมิงราชวงศ์โชซ็อนคะโต คิโยะมะซะโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิเปียงยาง

ชาวแมนจู

แมนจู (แมนจู:; หม่านจู๋) เป็นชนกลุ่มน้อยเผ่าหนึ่งในประเทศจีนและผู้คนจากดินแดนแมนจูเรียได้ใช้ชื่อดินแดนเป็นชื่อเรียกชนเผ่าของตนเอง ชาวแมนจูเป็นกลุ่มสาขาที่ใหญ่ที่สุดของกลุ่มชาวตุงกูซิกที่ใช้ภาษากลุ่มตุงกูซิกและได้อาศัยกระจัดกระจายทั่วประเทศจีน ถือเป็นชนกลุ่มน้อยที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 4 ของประเทศจีน ชาวแมนจูได้อาศัยและพบได้ใน 31 จังหวัดของจีน โดยเฉพาะในดินแดนแมนจูเรีย เหลียวหนิงถือได้ว่าเป็นดินแดนที่มีประชากรแมนจูเยอะที่สุด ส่วนเหอเป่ย, เฮย์หลงเจียง, จี๋หลิน, มองโกเลียในและปักกิ่ง มีประชากรแมนจู 100,000 คนอาศัยอยู่ ประมาณครึ่งของประชากรอาศัยอยู่ในเหลียวหนิงและ 1 ใน 5 อยู่ที่เหอเป่ย์ นอกจากนี้ยังมีชาวแมนจูอาศัยอยู่ในประเทศรัสเซียอันได้แก่ ดินแดนปรีมอร์สกี บางส่วนของดินแดนฮาบารอฟสค์และแคว้นอามูร์ ประวัติโดยสังเขปของชาวแมนจูนั้น ในทัศนคติของชาวฮั่น ถือได้ว่าเป็นชนกลุ่มน้อยเร่ร่อนหรือคนป่าเถื่อน ชาวแมนจูได้สืบเชื้อสายมาจากชาวหนี่เจิน (Jurchen; 女真) ที่ซึ่งได้สถาปนาราชวงศ์จินตอนแรกขึ้นทางตอนเหนือของจีน ในช่วง..

การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และชาวแมนจู · ชาวแมนจูและเจ้าชายควังแฮ · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังคย็องบก

ระราชวังคย็องบก (경복궁) ตั้งอยู่ที่ตอนเหนือของโซล ประเทศเกาหลีใต้ เป็นหนึ่งในห้าพระราชวังใหญ่ที่สร้างขึ้นโดยราชวงศ์โชซ็อน สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 1937 (ค.ศ. 1394) โดยช็อง โด-จ็อน และได้กลายเป็นพระราชวังหลวงหรือวังหลักสำหรับประทับว่าราชการของกษัตริย์และเหล่าเชื้อพระวงศ์ของเกาหลีมาโดยตลอด และได้รับการต่อเติมโดยพระเจ้าแทจงและพระเจ้าเซจงมหาราช แต่บางส่วนของพระราชวังนั้นถูกเพลิงเผาวอดในช่วงที่ญี่ปุ่นบุกประเทศเกาหลี พระราชวังมีเนื้อที่ 5.4 ล้านตารางฟุต โดยในช่วงต้นราชวงศ์โชซ็อนมีตำหนักอาคารมากถึง 200 อาคาร กระทั่งปี พ.ศ. 2135 ที่กองทัพญี่ปุ่นบุกรุกประเทศเกาหลี ตำหนักต่าง ๆ ได้ถูกทุบทำลาย ถูกเผาทิ้งไปเป็นจำนวนมาก ก่อนที่จะได้รับการบูรณะซ่อมแซมและสร้างพระราชวังขึ้นมาใหม่ในแบบฉบับเดิม โดยในปัจจุบันมีตำหนักทั้งสิ้น 10 ตำหนัก คำว่า "คย็องบกกุง" ในภาษาเกาหลี แปลว่า "พระราชวังแห่งพรที่ส่องสว่าง (The Palace of Shining Blessings)".

การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และพระราชวังคย็องบก · พระราชวังคย็องบกและเจ้าชายควังแฮ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าซ็อนโจแห่งโชซ็อน

ระเจ้าซ็อนโจ (선조 宣祖) เป็นพระมหากษัตริย์ราชวงศ์โชซ็อนองค์ที่ 14 (พ.ศ. 2110 ถึง พ.ศ. 2151) รัชสมัยของพระองค์เป็นเวลาที่วิกฤตที่สุดในประวัติศาสตร์เกาหลีและมีเหตุการณ์สำคัญหลายอย่าง ทั้งการรุกรานของญี่ปุ่นและการแบ่งฝ่ายของกลุ่มซานิมออกเป็นฝ่ายตะวันออก และฝ่ายตะวันตก ที่จะส่งผลต่อการเมืองอาณาจักรโชซ็อนไปอีกหลายร้อยปี แม้ว่าในสมัยของพระเจ้าซ็อนโจจะมีผู้มีความสามารถมากมาย เช่น ลีซุนชิน ลีฮวาง ลีอี แต่ความแตกแยกก็ทำให้โชซ็อนต้องเผชิญกับศึกหนัก องค์ชายฮาซง เป็นพระโอรสขององค์ชายทอกกึง ซึ่งเป็นพระโอรสของพระเจ้าจุงจงกับพระสนมอันชางบิน เป็นองค์ชายธรรมดาที่ห่างไกลจากราชบัลลังก์และไม่มีขุนนางใดสนับสนุนให้มีอำนาจ แต่ในพ.ศ. 2110 พระเจ้าเมียงจง สิ้นพระชนม์โดยที่ไม่มีทายาท บรรดาขุนนางจึงสรรหาพระราชวงศ์ที่พระเยาว์มาขึ้นครองราชย์ องค์ชายฮาซงจึงถูกเลือกและขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าซ็อนโจ และเลื่อนสถานะของพระบิดาและพระมารดาเป็นแทวอนกุนและแทกุนบูอิน.

การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และพระเจ้าซ็อนโจแห่งโชซ็อน · พระเจ้าซ็อนโจแห่งโชซ็อนและเจ้าชายควังแฮ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์หมิง

ราชวงศ์หมิง หรือ ราชวงศ์เบ๋ง (ฮกเกี้ยน) หรือ ราชวงศ์เม้ง (แต้จิ๋ว) หรือเป็นที่รู้จักกันในชื่อ จักรวรรดิต้าหมิง เป็นราชวงศ์ที่ปกครองจักรวรรดิจีน ระหว่าง พ.ศ. 1911 (ค.ศ. 1368) ถึง พ.ศ. 2187 (ค.ศ. 1644) ดำรงอยู่เป็นเวลารวม 276 ปี โดยปกครองต่อจากราชวงศ์หยวนของชาวมองโกล และพ่ายแพ้ให้กับราชวงศ์ชิงของชาวแมนจูในภายหลัง ราชวงศ์หมิงเป็นราชวงศ์ที่รุ่งเรืองในด้านวัฒนธรรมเป็นอย่างมาก ในยุคนี้มีการสำรวจทางทะเลอย่างกว้างขวาง ราชวงศ์หมิงในตอนต้น (1368 - 1464) ถือเป็นอาณาจักรที่ก้าวหน้าที่สุดในโลก ณ ช่วงเวลานั้น ราชวงศ์หมิงถือเป็นหนึ่งในยุคที่ถูกจัดโดยนักวิชาการชาวตะวันตกว่ามีการปกครองที่เป็นระบบและสังคมที่มีเสถียรภาพในประวัติศาสตร์มนุษย์ชาติก่อนที่จะล่มสลาย ราชวงศ์หมิงถือเป็นราชวงศ์ที่ปกครองประเทศจีนราชวงศ์สุดท้ายที่ปกครองโดยชาวฮั่น ปฐมจักรพรรดิต้าหมิง จูหยวนจาง หรือ จักรพรรดิหงหวู่ หลังจากที่ได้ทรงประกาศปลดแอกชาวฮั่นจากภายใต้การปกครองของราชวงศ์หยวนของชาวมองโกล ได้สถาปนาราชวงศ์หมิงขึ้น พระองค์ได้ทรงพยายามปฏิรูปการปกครองอาณาจักรเสียใหม่ ทรงพยายามสร้างระบบสังคมชุมชนชนบทแบบพึ่งพาตนเอง ปฏิรูประบบราชการ, กฎหมาย จักรพรรดิหงหวู่ได้สร้างระบบที่เป็นระเบียบที่ยืดหยุ่นเปลี่ยนแปลงได้ที่จะสามารถรองรับและสนับสนุนการทหารของราชวงศ์หมิงอย่างยั่งยืน ทำให้ด้านการทหารในช่วงนั้นราชวงศ์หมิงประสบความสำเร็จมีกองทัพภาคพื้นดินเกินกว่า 1 ล้านคนและกองทัพเรือมีอู่ต่อเรือที่หนานจิงเป็นอู่ต่อเรือที่ใหญ่ที่สุดในโลกในขณะนั้น พระองค์ยังได้ทรงตระหนักถึงการลดทอนอำนาจของเหล่าขันทีในราชสำนักCrawford, Robert.

การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และราชวงศ์หมิง · ราชวงศ์หมิงและเจ้าชายควังแฮ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โชซ็อน

ราชวงศ์โชซอน (Joseon Dynasty) หรือ ราชวงศ์อี ที่สถาปนาขึ้นภายหลังการยกสถานะของอาณาจักรโชซอนเป็นจักรวรรดิโชซอนตามพระบรมราชโองการของจักรพรรดิควังมูแห่งจักรวรรดิโชซอน (จักรพรรดิโคจง) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองคาบสมุทรเกาหลีในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ตั้งแต่ปี..

การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และราชวงศ์โชซ็อน · ราชวงศ์โชซ็อนและเจ้าชายควังแฮ · ดูเพิ่มเติม »

คะโต คิโยะมะซะ

ต คิโยะมะซะ เป็นหนึ่งในแม่ทัพในการรุกรานอาณาจักรโชซอนของญี่ปุ่น ด้วยผลงานในสมรภูมิชิซูคะตะเกะของเขาเป็นที่ประจักษณ์ เขาจึงกลายเป็นที่รู้จักในนามของ 1 ใน 7 ทหารเอกแห่งชิซูคะตะเกะ และได้รับศักดินา 3,000 ปี..

การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และคะโต คิโยะมะซะ · คะโต คิโยะมะซะและเจ้าชายควังแฮ · ดูเพิ่มเติม »

โทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ

ทโยโตมิ ฮิเดโยชิ (2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1537 – 18 กันยายน ค.ศ. 1598) เป็นไดเมียวคนสำคัญของญี่ปุ่นในยุคอะซุชิ-โมะโมะยะมะ เนื่องจากได้สร้างวีรกรรมต่อจากโอดะ โนบุนาง.

การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ · เจ้าชายควังแฮและโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ · ดูเพิ่มเติม »

เปียงยาง

ปียงยาง (평양, พย็องยัง) คือเมืองหลวงของประเทศเกาหลีเหนือ เป็นเขตแหล่งเศรษฐกิจที่สำคัญที่สุดของประเทศเกาหลีเหนือ ในอดีตนั้นเคยเป็นเมืองหลวงของหลายอาณาจักร เช่น ใน 2333 ปีก่อนคริสต์ศักราชนั้นเคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรโชซ็อนโบราณ ในสมัยนั้นมีชื่อว่าเมืองวังก็อมซ็อง ในปี ค.ศ. 427 ได้เป็นเมืองหลวงของอาณาจักรโคกูรยอ มีชื่อว่าเมืองเปียงยาง จนถึงปี ค.ศ. 668 ที่อาณาจักรโคกูรยอล่มสลายลง.

การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และเปียงยาง · เจ้าชายควังแฮและเปียงยาง · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และเจ้าชายควังแฮ

การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98) มี 95 ความสัมพันธ์ขณะที่ เจ้าชายควังแฮ มี 33 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 8, ดัชนี Jaccard คือ 6.25% = 8 / (95 + 33)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)และเจ้าชายควังแฮ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »