โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การบีบอัดข้อมูลและการเข้ารหัสขนส่งเป็นชิ้นส่วน

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง การบีบอัดข้อมูลและการเข้ารหัสขนส่งเป็นชิ้นส่วน

การบีบอัดข้อมูล vs. การเข้ารหัสขนส่งเป็นชิ้นส่วน

การบีบอัดข้อมูล (data compression) เป็นสาขาวิชาหนึ่งในวิทยาการคอมพิวเตอร์ หมายถึง การศึกษาวิธีการในการจัดเก็บข้อมูล ที่ทำให้ใช้เนื้อที่ในการจัดเก็บน้อยลง การบีบอัดข้อมูล มีความสำคัญในระบบการสื่อสารและจัดเก็บข้อมูล เนื่องจากทำให้เก็บหรือรับส่งข้อมูลได้มากขึ้น โดยใช้เนื้อที่เท่าเดิม (คำว่าเนื้อที่นี้ อาจจะเป็นเนื้อที่จัดเก็บข้อมูล หรือเนื้อที่ในช่องสัญญาณก็ได้) การบีบอัดข้อมูลแบ่งได้เป็นสองประเภทใหญ่ ๆ ตามคุณภาพของข้อมูลที่ถูกบีบอัดแล้ว คือ. การเข้ารหัสขนส่งเป็นชิ้นส่วน (chunked transfer encoding) เป็นวิธีหนึ่งของเว็บเซิร์ฟเวอร์เอชทีทีพี ในการส่งถ่ายข้อมูลไปยังโปรแกรมประยุกต์ของเครื่องลูกข่าย (ซึ่งมักจะเป็นเว็บเบราว์เซอร์) ปกติแล้วข้อมูลที่ได้รับจากข้อความตอบรับเอชทีทีพีจะถูกส่งมาเป็นข้อมูลชิ้นเดียว ซึ่งขนาดของเนื้อหานั้นได้แสดงไว้ในส่วนหัว Content-Length ขนาดของข้อมูลเป็นสิ่งสำคัญ เพราะว่าเครื่องลูกข่ายจำเป็นต้องทราบว่า เมื่อไรข้อความตอบรับจะสิ้นสุดและเมื่อไรข้อความถัดไปจะตามมา และด้วยการใช้การเข้ารหัสขนส่งเป็นชิ้นส่วน ข้อมูลจะถูกแบ่งออกเป็นบล็อกย่อย ๆ และถูกส่งออกไปเป็นหนึ่งหรือหลาย "ชิ้นส่วน" (chunk) ดังนั้นเครื่องแม่ข่ายอาจเริ่มส่งข้อมูลก่อนที่มันจะทราบว่าขนาดรวมทั้งหมดของเนื้อหาเป็นเท่าใด บ่อยครั้งที่ขนาดของบล็อกจะเท่ากันหมด แต่ก็ไม่แน่เสมอไป บางครั้งเครื่องให้บริการเอชทีทีพีใช้การบีบอัดข้อมูล (gzip หรือ deflate) เพื่อลดเวลาที่ใช้ในการส่งถ่ายข้อมูล แม้ว่าการเข้ารหัสขนส่งเป็นชิ้นส่วนสามารถใช้ได้กับทรัพยากรที่บีบอัดเพื่อลดปริมาณชิ้นส่วนที่ส่ง แต่หลังจากแบ่งแล้ว ชิ้นส่วนต่าง ๆ ที่ไม่ได้มีการบีบอัดในตัวเองก็จะไม่มีประโยชน์อะไร แถมยังทำให้เซิร์ฟเวอร์เสียเวลาในการบีบอัดอย่างเต็มที่ แล้วข้อมูลบีบอัดที่ออกมาจึงค่อยถูกตัดแบ่งตามแผน ส่วนกรณีที่มีการตัดแบ่งเป็นชิ้นส่วนก่อนแล้วค่อยนำไปบีบอัด มีข้อดีตรงที่สามารถบีบอัดได้ทันทีในขณะที่ข้อมูลกำลังส่ง เพราะข้อมูลที่นำมาบีบอัดมีขนาดเล็ก แต่ก็มีข้อเสียคือไม่สามารถทราบถึงขนาดข้อมูลสุดท้ายที่บีบอัดแล้วได้โดยง.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การบีบอัดข้อมูลและการเข้ารหัสขนส่งเป็นชิ้นส่วน

การบีบอัดข้อมูลและการเข้ารหัสขนส่งเป็นชิ้นส่วน มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ข้อมูล

ข้อมูล

้อมูล คือค่าของตัวแปรในเชิงคุณภาพหรือเชิงปริมาณ ที่อยู่ในความควบคุมของกลุ่มของสิ่งต่าง ๆ ข้อมูลในเรื่องการคอมพิวเตอร์ (หรือการประมวลผลข้อมูล) จะแสดงแทนด้วยโครงสร้างอย่างหนึ่ง ซึ่งมักจะเป็นโครงสร้างตาราง (แทนด้วยแถวและหลัก) โครงสร้างต้นไม้ (กลุ่มของจุดต่อที่มีความสัมพันธ์แบบพ่อลูก) หรือโครงสร้างกราฟ (กลุ่มของจุดต่อที่เชื่อมระหว่างกัน) ข้อมูลโดยปกติเป็นผลจากการวัดและสามารถทำให้เห็นได้โดยใช้กราฟหรือรูปภาพ ข้อมูลในฐานะมโนทัศน์นามธรรมอันหนึ่ง อาจมองได้ว่าเป็นระดับต่ำที่สุดของภาวะนามธรรมที่สืบทอดเป็นสารสนเทศและความรู้ ข้อมูลดิบ หรือ ข้อมูลที่ยังไม่ประมวลผล เป็นศัพท์อีกคำหนึ่งที่เกี่ยวข้อง หมายถึงการรวบรวมจำนวนและอักขระต่าง ๆ ซึ่งมักจะเกิดขึ้นตามปกติในการประมวลผลข้อมูลเป็นระยะ และ ข้อมูลที่ประมวลผลแล้ว จากระยะหนึ่งอาจถือว่าเป็น ข้อมูลดิบ ของระยะถัดไปก็ได้ ข้อมูลสนามหมายถึงข้อมูลดิบที่รวบรวมมาจากสภาพแวดล้อม ณ แหล่งกำเนิด ที่ไม่อยู่ในการควบคุม ข้อมูลเชิงทดลองหมายถึงข้อมูลที่สร้างขึ้นภายในสภาพแวดล้อมของการค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์โดยการสังเกตและการบันทึก.

การบีบอัดข้อมูลและข้อมูล · การเข้ารหัสขนส่งเป็นชิ้นส่วนและข้อมูล · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง การบีบอัดข้อมูลและการเข้ารหัสขนส่งเป็นชิ้นส่วน

การบีบอัดข้อมูล มี 6 ความสัมพันธ์ขณะที่ การเข้ารหัสขนส่งเป็นชิ้นส่วน มี 10 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 6.25% = 1 / (6 + 10)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การบีบอัดข้อมูลและการเข้ารหัสขนส่งเป็นชิ้นส่วน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »