การบินนาวีและเรือลาดตระเวน
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง การบินนาวีและเรือลาดตระเวน
การบินนาวี vs. เรือลาดตระเวน
การโรยเชือกลงมาจาก MH-60S ซีฮอกว์ ลงมายึดกับ''เรือยูเอสเอสจอหน์ เอช. ดับเบิ้ลยู. บุช'' การบินนาวี (Naval aviation) เป็นการใช้กองกำลังทางอากาศของกองทัพเรือ หรือโดยมีอากาศยานนาวีอยู่ในบนเรือบรรทุกเครื่องบิน หรือไม่ก็ฐานทัพภาคพื้นดิน การบินนาวีโดยส่วนมากจะมีเป้าหมายอยู่บนที่เรือบรรทุกอากาศยาน เรือที่บรรทุกอากาศยานนั้นจะต้องมีความพร้อมต่อการลงจอดและเหมาะสมกับอากาศยานนาวีที่จะต้องลงจอด พวกเขามีเวลาไม่นานที่จะให้อากาศยานนาวีลงจอดบนพื้นผิว ดังนั้นพื้นผิวจะต้องมีความยืดหยุ่นและความทนทานสูง พวกเขามีอุปกรณ์ที่ยึดตัวอากาศยานนาวีไว้ลงบนกับพื้นเรือ อากาศยานนาวีถูกออกแบบขึ้นโดยมีจุดประสงค์หลายอย่าง เช่น เพื่อการโจมตีทางท้องฟ้า, การโจมตีภาคพื้นดิน, การโจมตีเรือดำน้ำ, การค้นหาและกู้ภัย, การขนส่ง, การตรวจสอบสภาพอากาศ, การลาดตระเวน, การดูแลพื้นที่ และการควบคุม. รือ ยูเอสเอส พอร์ต รอยัล (CG 73) เรือลาดตระเวนชั้นติคอนเดอโรกา แห่งกองทัพเรือสหรัฐอเมริกา เรือลาดตระเวน (อังกฤษ: Cruiser) เป็นประเภทของเรือรบประเภทหนึ่งที่มีขนาดใหญ่กว่าเรือพิฆาตแต่จะมีขนาดเล็กกว่าเรือประจัญบาน เรือลาดตระเวนมีวัตุถุประสงค์หลักในการปฏิบัติการโจมตีและป้องกันภารกิจทางทะเลได้อย่างอิสระ มีความคล่องตัวสูง สามารถต่อตีเป้าหมายได้หลากหลายประเภท เช่น เรือดำน้ำ อากาศยาน และเรือรบผิวน้ำประเภทอื่นๆ เรือลาดตระเวนเริ่มมีบทบาทสำคัญในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 จนกระทั่งสงครามเย็นสงบลง ในอดีตนั้นเรือลาดตระเวนมิได้จัดเป็นหนึ่งในประเภทของเรือรบ หากแต่เป็นเรือฟริเกตที่ได้รับมอบหมายภารกิจในการลาดตระเวนอย่างอิสระออกจากกองเรือขนาดใหญ่ จึงจำต้องมีส่วนในการเข้าโจมตีเรือสินค้าของศัตรู จนกระทั่งในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 คำว่า "เรือลาดตระเวน" กลายเป็นรูปแบบของเรือรบประเภทหนึ่งซึ่งออกแบบมาเพื่อภารกิจลาดตระเวนโดยเฉพาะ และจากปลายทศวรรษ 1890 ถึงทศวรรษที่ 1950 เรือลาดตระเวนจะหมายถึงเรือที่มีขนาดใหญ่กว่าเรือพิฆาตแต่จะมีขนาดเล็กกว่าเรือประจัญบาน ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภายหลังได้มีการปลดประจำการเรือประจัญบานจนหมดสิ้นแล้วนั้น ทำให้เรือลาดตระเวนกลายเป็นเรือที่มีขนาดใหญ่ที่สุดและมีประสิทธิภาพที่สุดในการปฏิบัติการรบผิวน้ำ อย่างไรก็ตามก็ได้มีการพัฒนาให้เรือลาดตระเวนมีความสามารถในการป้องกันกองเรือจากภัยคุกคามทางอากาศ ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 21 ประเภทของเรือลาดตระเวนกลายเป็นเรือรบผิวน้ำที่มีขนาดระวางขับน้ำมากที่สุดในกองทัพเรือ (ไม่นับเรือบรรทุกเครื่องบินและเรือช่วยรบอื่นๆ) อย่างไรก็ตามยังมีเรือพิฆาตติดอาวุธนำวิถีชั้นอาเลห์เบิร์ก ของสหรัฐอเมริกา และชั้นคองโง ของญี่ปุ่น ที่มีขนาดใหญ่ระดับเดียวกับเรือลาดตระเวน แต่ก็ไม่อาจใช้คำว่าเรือลาดตระเวนได้ เนื่องด้วยเหตุผลทางการเมือง.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การบินนาวีและเรือลาดตระเวน
การบินนาวีและเรือลาดตระเวน มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): อากาศยาน
รื่องบินแอร์บัส A-380 อากาศยานโดยสารที่ใหญ่ที่สุดในโลก อากาศยาน (aircraft)หมายถึงสิ่งหรือเครื่องที่สามารถบินได้โดยได้รับการรองรับจากอากาศ หรือโดยทั่วไปคือชั้นบรรยากาศของโลก มันสามารถต้านแรงดึงดูดของโลกโดยใช้แรงลอยตัว(แรงยกอยู่กับที่)(Buoyancy หรือ static lift) หรือใช้แรงยกพลศาสตร์(dynamic lift)ของ airfoil อย่างใดอย่างหนึ่ง, หรือมีไม่กี่กรณีที่ใช้แรงขับลงด้านล่าง(downward thrust)จากเครื่องยนต์ไอพ่น กิจกรรมของมนุษย์ที่เกี่ยวข้องกับอากาศยานเรียกว่า การบิน (aviation) อากาศยานที่มีลูกเรือจะถูกบินโดยนักบินที่อยู่บนเครื่อง แต่ยานพาหนะทางอากาศไร้คนขับอาจถูกควบคุมโดยระยะไกลหรือควบคุมตัวเองโดยเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่บนเครื่อง อากาศยานถูกแยกประเภทโดยเกณฑ์ที่แตกต่างกัน เช่นรูปแบบของการยกตัว การขับเคลื่อน การใช้งานและอื่นๆ อากาศยานที่มีคนขับนั้นขับด้วยบุคคลที่เรียกว่า นักบิน จนกระทั่งในคริสต์ทศวรรษที่ 1960 ก็มีอากาศยานแบบที่ไม่มีคนขับเกิดขึ้น มีชื่อเรียกว่า "drone" ในช่วงทศวรรษที่ 1960 นั้น กองทัพสหรัฐได้นำคำว่า อากาศยานที่ควบคุมจากระยะไกล (remotely piloted vehicle (RPV)) มาใช้เรียกชื่ออากาศยานชนิดนี้ ปัจจุบันอากาศยานชนิดนี้มีชื่อเรียกโดยทั่วไปว่า อากาศยานไร้คนขับ (unmanned aerial vehicle (UAV)).
การบินนาวีและอากาศยาน · อากาศยานและเรือลาดตระเวน · ดูเพิ่มเติม »
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ การบินนาวีและเรือลาดตระเวน มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง การบินนาวีและเรือลาดตระเวน
การเปรียบเทียบระหว่าง การบินนาวีและเรือลาดตระเวน
การบินนาวี มี 4 ความสัมพันธ์ขณะที่ เรือลาดตระเวน มี 17 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 4.76% = 1 / (4 + 17)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การบินนาวีและเรือลาดตระเวน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: