โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การนำความร้อนของธาตุ (หน้าข้อมูล)และแฟรนเซียม

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง การนำความร้อนของธาตุ (หน้าข้อมูล)และแฟรนเซียม

การนำความร้อนของธาตุ (หน้าข้อมูล) vs. แฟรนเซียม

การนำความร้อนของธาตุเคมี (หน้าข้อมูล). มาร์เกอริต เปอแร ผู้ค้นพบแฟรนเซียม แฟรนเซียม (Francium) เป็นธาตุที่มีเลขอะตอม 87 สัญลักษณ์ Fr แฟรนเซียมเคยเป็นที่รู้จักในชื่อ เอคา-ซีเซียม และ แอกทิเนียม Kไอโซโทปที่ไม่เสถียรน้อยที่สุดจริง ๆ คือ แฟรนเซียม-223 มันเป็นหนึ่งในสองธาตุที่มีอิเล็กโตรเนกาติวิตีต่ำที่สุด อีกหนึ่งคือ ซีเซียม แฟรนเซียมเป็นกัมมันตรังสีอย่างสูง สามารถสลายไปเป็นแอสทาทีน เรเดียม และเรดอนได้ ด้วยที่มันเป็นโลหะแอลคาไล มันจึงมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเพียงตัวเดียว ยังไม่เคยมีใครเห็นแฟรนเซียมเป็นก้อนในปริมาณมากเลย คุณสมบัติทั่วไปของธาตุอื่น ๆ ในแถวเดียวกัน ทำให้นักวิทยาศาสตร์สันนิษฐานว่าแฟรนเซียมเป็นโลหะที่สะท้อนแสงได้สูง ถ้าเก็บแฟรนเซียมมาไว้รวมกันเป็นก้อนหรือของเหลวปริมาณมากพอ การได้สารตัวอย่างดังกล่าวมานั้นแทบจะเป็นไปไม่ได้ เนื่องจากความร้อนจากการสลายตัว (ครึ่งชีวิตของไอโซโทปที่ยาวนานที่สุดคือเพียง 22 นาที) จะทำให้ธาตุปริมาณมากพอที่จะมองเห็น กลายเป็นไอได้ แฟรนเซียมถูกค้นพบโดยมาร์เกอริต เปอแรที่ฝรั่งเศส (ซึ่งได้นำมาตั้งเป็นชื่อธาตุนี้) ในปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การนำความร้อนของธาตุ (หน้าข้อมูล)และแฟรนเซียม

การนำความร้อนของธาตุ (หน้าข้อมูล)และแฟรนเซียม มี 21 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): บิสมัทพลูโทเนียมยูเรเนียมรูบิเดียมรีเนียมฮีเลียมธาตุทอเรียมดุบเนียมตะกั่วซีเซียมปรอทแกลเลียมแอกทิเนียมแอสทาทีนแทลเลียมเรดอนเรเดียมเลขอะตอมเทคนีเชียมเนปทูเนียม

บิสมัท

มัท (Bismuth) เป็นธาตุที่มีเลขอะตอม 83 และสัญลักษณ์คือ Bi บิสมัทเป็นธาตุโลหะหนัก เป็นผลึกสีขาวอมชมพู มีสมบัติทางเคมีคล้ายสารหนูและพลวง ใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ เภสัชกรรม และเครื่องสำอาง เป็นส่วนผสมของฟิวส์ มีผู้ค้นพบ เมื่อปี..

การนำความร้อนของธาตุ (หน้าข้อมูล)และบิสมัท · บิสมัทและแฟรนเซียม · ดูเพิ่มเติม »

พลูโทเนียม

ลูโทเนียม (Plutonium) เป็นธาตุที่มีเลขอะตอม 94 และสัญลักษณ์ คือ Pu เป็นธาตุโลหะกัมมันตรังสี เป็นโลหะแอกทิไนด์สีขาวเงิน และจะมัวลงเมื่อสัมผัสอากาศซึ่งเกิดจากการรวมตัวกับออกซิเจน โดยปกติ พลูโทเนียมมี 6 ไอโซโทป และ 4 สถานะออกซิเดชัน สามารถเกิดปฏิกิริยาทางเคมีกับคาร์บอน ฮาโลเจน ไนโตรเจน และซิลิกอน เมื่อสัมผัสอากาศชื้นจะสร้างสารประกอบออกไซด์และไฮไดรด์มากกว่า 70 % ของปริมาตรซึ่งจะแตกออกเป็นผงแป้งที่สามารถติดไฟได้เอง พลูโทเนียมมีพิษที่เกิดจากการแผ่รังสีที่จะสะสมที่ไขกระดูก นอกจากนี้ยังมีคุณสมบัติอื่น ๆ ที่ทำให้การจัดการพลูโทเนียมเป็นเรื่องที่อันตรายมาก ไอโซโทปที่สำคัญของพลูโทเนียม คือ พลูโทเนียม-239 ซึ่งมีครึ่งชีวิต 24,100 ปี พลูโทเนียม-239 และ 241 เป็นวัสดุฟิสไซล์ ซึ่งหมายความว่านิวเคลียสของอะตอมสามารถแตกตัว โดยการชนของนิวตรอนความร้อนเคลื่อนที่ช้า ซึ่งจะปลดปล่อยพลังงาน รังสีแกมมา และนิวตรอนจำนวนมาก ด้วยเหตุนี้ จึงสามารถเกิดปฏิกิริยาลูกโซ่นิวเคลียร์ได้ นำไปสู่การประยุกต์สร้างอาวุธนิวเคลียร์และเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ ไอโซโทปที่เสถียรที่สุด คือ พลูโทเนียม-244 ซึ่งมีครึ่งชีวิตประมาณ 80 ล้านปี นานพอที่จะสามารถพบได้ในธรรมชาติ พลูโทเนียม-238 มีครึ่งชีวิต 88 ปี และปลดปล่อยอนุภาคแอลฟาออกมา มันเป็นแหล่งความร้อนของเครื่องผลิตไฟฟ้าด้วยความร้อนจากไอโซโทปรังสี ซึ่งใช้ในการให้พลังงานในยานอวกาศ พลูโทเนียม-240 มีอัตราของการแตกตัวของนิวเคลียสของอะตอมด้วยตัวเองสูง เป็นการเพิ่มอัตรานิวตรอนพื้นฐานของตัวอย่างที่มีไอโซโทปนี้ประกอบอยู่ด้วย การมีอยู่ของ Pu-240 เป็นข้อจำกัดสมรรถภาพของพลูโทเนียมที่ใช้ในอาวุธหรือแหล่งพลังงานและเป็นตัวกำหนดเกรดของพลูโทเนียม: อาวุธ (19%) ธาตุลำดับที่ 94 สังเคราะห์ได้เป็นครั้งแรกในปี..

การนำความร้อนของธาตุ (หน้าข้อมูล)และพลูโทเนียม · พลูโทเนียมและแฟรนเซียม · ดูเพิ่มเติม »

ยูเรเนียม

ูเรเนียม (Uranium) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 92 และสัญลักษณ์คือ U เป็นธาตุโลหะหนักกัมมันตรังสี ตามธรรมชาติมีลักษณะสีเงินวาว อยู่ในกลุ่มแอกทิไนด์ (actinide group) ไอโซโทป U-235 ใช้เป็นเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์และอาวุธนิวเคลียร์ ตามธรรมชาติพบยูเรเนียมในปริมาณเล็กน้อยในหิน ดิน น้ำ พืช และสัตว์ รวมทั้งมนุษย์ด้วย ครึ่งชีวิตของธาตุยูเรเนียมคือ 4,500 ล้านปี (U-238).

การนำความร้อนของธาตุ (หน้าข้อมูล)และยูเรเนียม · ยูเรเนียมและแฟรนเซียม · ดูเพิ่มเติม »

รูบิเดียม

รูบิเดียม (Rubidium) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 37 และสัญลักษณ์คือ Rb รูบิเดียมอยู่ในตารางธาตุหมู่ 1 รูบิเดียมเป็นธาตุในกลุ่มโลหะแอลคาไลมีสีขาวเงินเนื้ออ่อน Rb-87เป็นไอโซโทปเรดิโอแอคตีฟ ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ สามารถติดไฟได้เองในอากาศ รูบิเดียม รูบิเดียม รูบิเดียม รูบิเดียม.

การนำความร้อนของธาตุ (หน้าข้อมูล)และรูบิเดียม · รูบิเดียมและแฟรนเซียม · ดูเพิ่มเติม »

รีเนียม

รีเนียม (Rhenium) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 75 และสัญลักษณ์คือ Re รีเนียมเป็นธาตุโลหะทรานซิชันสีขาวเงิน รีเนียมมีสมบัติทางเคมีคล้ายแมงกานีส ใช้ประโยชน์ในการผลิตโลหะผสมรีเนียมเป็นผลพลอยได้จากการทำให้โมลิบดีนัมบริสุทธิ์และการผลิตโลหะผสมระหว่างรีเนียมและโมลิบดีนัม หมวดหมู่:เคมี หมวดหมู่:ตารางธาตุ หมวดหมู่:วัสดุศาสตร์ หมวดหมู่:ธาตุเคมี หมวดหมู่:โลหะมีสกุล หมวดหมู่:โลหะมีค่า.

การนำความร้อนของธาตุ (หน้าข้อมูล)และรีเนียม · รีเนียมและแฟรนเซียม · ดูเพิ่มเติม »

ฮีเลียม

ีเลียม (Helium) เป็นธาตุเคมีที่มีสัญลักษณ์ว่า He และมีเลขอะตอมเท่ากับ 2 ฮีเลียมเป็นแก๊สไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส ไม่เป็นพิษ เฉื่อย มีอะตอมเดี่ยวซึ่งถูกจัดให้อยู่ในหมู่แก๊สมีตระกูลบนตารางธาตุ จุดเดือดและจุดหลอมเหลวของฮีเลียม มีค่าต่ำสุดกว่าบรรดาธาตุทั้งหมดในตารางธาตุ และมันจะปรากฏในอยู่รูปของแก๊สเท่านั้น ยกเว้นในสภาวะที่เย็นยิ่งยว.

การนำความร้อนของธาตุ (หน้าข้อมูล)และฮีเลียม · ฮีเลียมและแฟรนเซียม · ดูเพิ่มเติม »

ธาตุ

ในทางเคมี ธาตุ คือ สารบริสุทธิ์ซึ่งประกอบด้วยอนุภาคมูลฐานเลขอะตอม อันเป็นจำนวนของโปรตอนในนิวเคลียสของธาตุนั้น ตัวอย่างธาตุที่คุ้นเคยกัน เช่น คาร์บอน ออกซิเจน อะลูมิเนียม เหล็ก ทองแดง ทองคำ ปรอทและตะกั่ว จนถึงเดือนพฤษภาคม..

การนำความร้อนของธาตุ (หน้าข้อมูล)และธาตุ · ธาตุและแฟรนเซียม · ดูเพิ่มเติม »

ทอเรียม

ทอเรียม (Thorium) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม 90 และสัญลักษณ์คือ Th เป็นธาตุโลหะกัมมันตภาพรังสีที่พบในธรรมชาติเมื่อบริสุทธิ์มีลักษณะสีเงินวาวอ่อนนุ่ม เมื่อสัมผัสกับอากาศจะหมองเป็นสีน้ำตาลหรือสีดำเพราะเกิดอ๊อกไซด์ คือ ทอเรียมอ๊อกไซด์ (Thorium oxide (ThO2))หรือทอเรีย(thoria)เป็นอ๊อกไซด์ที่มีจุดเดือดสูงที่สุด(3300 °C) เมื่อถูกทำให้ร้อนในอากาศโลหะทอเรียมจะติดไฟได้เองเกิดเป็นแสงจ้าสีขาว มีอัตราการแผ่รังสีมากกว่ายูเรเนียม มักใช้ในการทำปฏิกรณ์นิวเคลียร์ หมวดหมู่:วัสดุนิวเคลียร์ หมวดหมู่:ธาตุเคมี หมวดหมู่:วัสดุศาสตร์ หมวดหมู่:สารก่อมะเร็ง.

การนำความร้อนของธาตุ (หน้าข้อมูล)และทอเรียม · ทอเรียมและแฟรนเซียม · ดูเพิ่มเติม »

ดุบเนียม

ดุบเนียม (Dubnium) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 105 และสัญลักษณ์คือ Db ดุบเนียมเป็นธาตุกัมมันตรังสีที่ถูกสังเคราะห์ขึ้น ดุบเนียม-268 เป็นไอโซโทปที่เสถียรของมันมีครึ่งชีวิตประมาณ 16 ชั่วโมง ดุบเนียม ตั้งชื่อตามเมืองดุบนา ในประเทศรัสเซีย หมวดหมู่:ธาตุเคมี หมวดหมู่:วัสดุศาสตร์.

การนำความร้อนของธาตุ (หน้าข้อมูล)และดุบเนียม · ดุบเนียมและแฟรนเซียม · ดูเพิ่มเติม »

ตะกั่ว

ตะกั่ว (Lead) เป็นธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 82 และสัญลักษณ์คือ Pb (Plumbum) ตะกั่วเป็นธาตุโลหะ เนื้ออ่อนนุ่มสามารถยืดได้ เมื่อตัดใหม่ๆ จะมีสีขาวอมน้ำเงิน แต่เมื่อถูกกับอากาศสีจะเปลี่ยนเป็นสีเทา ตะกั่วเป็นโลหะหนักที่มีพิษ ใช้ทำวัสดุก่อสร้าง แบตเตอรี่ กระสุนปืน โลหะผสม.

การนำความร้อนของธาตุ (หน้าข้อมูล)และตะกั่ว · ตะกั่วและแฟรนเซียม · ดูเพิ่มเติม »

ซีเซียม

ซีเซียม (อังกฤษ:Caesium) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม 55 และสัญลักษณ์คือ Cs ซีเซียมเป็นธาตุโลหะแอลคาไลมีลักษณะเป็นเงินทองอ่อนนุ่มเป็นของเหลวที่อุณหภูมิห้อง ธาตุนี้ใช้ในนาฬิกาอะตอม.

การนำความร้อนของธาตุ (หน้าข้อมูล)และซีเซียม · ซีเซียมและแฟรนเซียม · ดูเพิ่มเติม »

ปรอท

ปรอท (Mercury; Hydragyrum) เป็นธาตุเคมีสัญลักษณ์ Hg และเลขอะตอมเท่ากับ 80 รู้จักกันทั่วไปในชื่อ ควิกซิลเวอร์ (quicksilver) และมีชื่อเดิมคือ ไฮดราเจอรัม (hydrargyrum) ปรอทเป็นโลหะหนักสีเงินในบล็อก-d เป็นธาตุโลหะชนิดเดียวที่เป็นของเหลวในที่อุณหภูมิและความดันมาตรฐาน ธาตุอื่นอีกธาตุหนึ่งที่เป็นของเหลวภายใต้สภาวะเช่นนี้คือ โบรมีน แม้ว่าโลหะอย่างซีเซียม แกลเลียม และรูบิเดียมจะละลายที่อุณหภูมิสูงกว่าอุณหภูมิห้อง ปรอทพบได้ทั่วโลก ส่วนใหญ่พบในรูปซินนาบาร์ (เมอร์คิวริกซัลไฟด์) เมอร์คิวริกซัลไฟด์บริสุทธิ์เป็นผงสีแดงชาด ได้จากปฏิกิริยาของปรอท (เกิดจากรีดักชันจากซินนาบาร์) กับกำมะถัน หากสัมผัส สูดดมไอ หรือทานอาหารทะเลที่ปนเปื้อนปรอทที่ละลายน้ำ (เช่น เมอร์คิวริกคลอไรด์ หรือเมธิลเมอร์คิวรี) อาจเกิดเป็นพิษได้ ปรอทมักใช้ประโยชน์ในเทอร์โมมิเตอร์ บารอมิเตอร์ มาโนมิเตอร์ สฟิกโมมาโนมิเตอร์ โฟลตวาล์ว สวิตช์ปรอท ปรอทรีเลย์ หลอดฟลูออเรสเซนต์ และอุปกรณ์อื่น ๆ แม้ว่ายังมีประเด็นเรื่องพิษที่อาจทำให้เทอร์โมมิเตอร์และสฟิกโมมาโนมิเตอร์ไม่ถูกนำมาใช้อีก แต่จะใช้แอลกอฮอล์ หรือแก้วที่เติมกาลินสแตน หรือเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นเทอร์มิสเตอร์ หรืออินฟราเรดแทน เช่นเดียวกัน สฟิกโมมาโนมิเตอร์ถูกแทนด้วยเกจความดันเชิงกลและเกจรับความตึงอิเล็กทรอนิกส์ ปรอทยังคงมีใช้ในงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และสารอะมัลกัมสำหรับอุดฟันในบางท้องที่ ปรอทนำมาใช้ผลิตแสงสว่าง กล่าวคือ กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านไอปรอทในหลอดไฟฟลูออเรสเซนต์จะสร้างแสงอัลตราไวโอเลตคลื่นสั้น ก่อให้เกิดฟอสเฟอร์ ทำให้หลอดเรืองแสง และเกิดเป็นแสงสว่างขึ้นม.

การนำความร้อนของธาตุ (หน้าข้อมูล)และปรอท · ปรอทและแฟรนเซียม · ดูเพิ่มเติม »

แกลเลียม

แกลเลียม (Gallium) สัญลักษณ์ธาตุ Ga ถูกค้นพบในปี..

การนำความร้อนของธาตุ (หน้าข้อมูล)และแกลเลียม · แกลเลียมและแฟรนเซียม · ดูเพิ่มเติม »

แอกทิเนียม

แอกทิเนียม (Actinium) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 89 และสัญลักษณ์คือ Ac แอกทิเนียมเป็นธาตุโลหะกัมมันตภาพรังสีลักษณะเป็นสีเงินมันวาว สามารถเรืองแสงประหลาดสีน้ำเงินในที่มืดได้ ในธรรมชาติพบอยู่ในแร่ยูเรเนียม 227-Acเป็นไอโซโทปแอกทิเนียมที่เปล่งรังสีแอลฟ้าและเบต้าจะมีครึ่งชีวิตประมาณ 21.773 ปี แอกทิเนียม แอกทิเนียม แอกทิเนียม แอกทิเนียม.

การนำความร้อนของธาตุ (หน้าข้อมูล)และแอกทิเนียม · แฟรนเซียมและแอกทิเนียม · ดูเพิ่มเติม »

แอสทาทีน

แอสทาทีน (Astatine) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 85 และสัญลักษณ์คือ At แอสทาทีนเป็นธาตุกัมมันตภาพรังสี (radioactive element) ในธรรมชาติได้จากการสลายตัวของ ยูเรเนียมและทอเรียม แอสทาทีนเป็นธาตุในกลุ่มแฮโลเจนที่มีน้ำหนักมากที่สุด สมบัติทางเคมีก็เหมือนกับแฮโลเจนอื่นๆโดยเฉพาะไอโอดีนคือมันอาจจะสะสมอยู่ในต่อมไธรอยด์เหมือนไอโอดีน แต่มันมีความเป็นโลหะมากกว่าไอโอดีน อแอสทาทีน อแอสทาทีน อแอสทาทีน อแอสทาทีน.

การนำความร้อนของธาตุ (หน้าข้อมูล)และแอสทาทีน · แฟรนเซียมและแอสทาทีน · ดูเพิ่มเติม »

แทลเลียม

แทลเลียม (Thallium) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 81 และสัญลักษณ์คือ Tl เป็นธาตุโลหะสีเทา เนื้ออ่อนนุ่ม สามารถยืดได้คล้ายดีบุก แต่เมื่อสัมผัสอากาศจะเปลี่ยนสี แทลเลียมเป็นธาตุที่มีลักษณะคล้ายอินเดียมคือเป็นโลหะที่หายาก และอ่อนนิ่มมาก ไม่มีการออกไซด์เคลือบที่ผิว ดังนี้นจึงเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันกับออกซิเจนในอากาศอย่างรวดเร็ว แทลเลียมมีเลขออกซิเดชันได้ทั้ง +1 และ +3 แทลเลียมมีพิษมาก ใช้ทำยาเบื่อหนูและฆ่าแมลง เป็นต้นเหตุให้เกิดมะเร็งจึงถูกห้ามใช้ในหลายประเทศ นอกจากนี้ยังใช้ตรวจสอบรังสีอินฟราเรดด้ว.

การนำความร้อนของธาตุ (หน้าข้อมูล)และแทลเลียม · แทลเลียมและแฟรนเซียม · ดูเพิ่มเติม »

เรดอน

รดอน (อังกฤษ: Radon) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม 86 และสัญลักษณ์คือ Rn เรดอนเป็นธาตุกัมมันตรังสีที่เป็นก๊าซเฉื่อย (radioactive noble gas) ได้จากการแยกสลายธาตุเรเดียม เรดอนเป็นก๊าซที่หนักที่สุดและเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ไอโซโทปของเรดอนคือ Rn-222 ใช้ในงานรักษาผู้ป่วยแบบเรดิโอเธอราปี (radiotherapy) ก๊าซเรดอนที่สะสมในบ้านเป็นสาเหตุของโรคมะเร็งปอดและทำให้ผู้ป่วยในสหภาพยุโรปเสียชีวิตปีละ 20,000 คน เรดอนถูกสร้างขึ้นโดยผ่านกระบวนการอีกขั้นหนึ่งของการย่อยสลายธาตุกัมมันตรังสีทั่วไป โดยที่ธอเรียมและยูเรเนียมซึ่งเป็นธาตุกัมมันตภาพดึกดำบรรพ์ที่มีอยู่ตั้งแต่ครั้งที่โลกเริ่มก่อตัวขึ้น ได้เกิดการสลายตัวของธาตุและให้ผลเป็นธาตุเรเดียม และการสลายตัวของเรเดียมจึงทำให้เกิดธาตุเรดอน ซึ่งเมื่อเรดอนสลายตัว ก็ทำให้เกิดธาตุ radon  daughter อันเป็นชื่อเรียกของธาตุกัมมันตรังสีใหม่ที่ได้มา ซึ่งต่างจากเรดอนที่มีสถานะเป็นแก๊ซตรงที่มีสถานะเป็นของแข็งและเกาะติดกับพื้นผิว.

การนำความร้อนของธาตุ (หน้าข้อมูล)และเรดอน · เรดอนและแฟรนเซียม · ดูเพิ่มเติม »

เรเดียม

เรเดียม (Radium) คือธาตุที่มีเลขอะตอม 88 และสัญลักษณ์คือ Ra เรเดียมเป็นธาตุโลหะแอลคาไลน์เอิร์ท ถูกค้นพบโดยมารี กูรี ขณะบริสุทธิ์จะมีสีขาวและจะดำลงเมื่อสัมผัสกับอากาศ ในธรรมชาติพบอยู่กับแร่ยูเรเนียม เรเดียมเป็นธาตุกัมมันตรังสีชนิดเข้มข้น ไอโซโทปที่เสถียรของมันคือ Ra-226 มีครึ่งชีวิตประมาณ 1602 ปี และจะสลายกลายเป็นก๊าซเรดอน รเดเอียม รเดเอียม รเดเอียม รเดเอียม รเดเอียม.

การนำความร้อนของธาตุ (หน้าข้อมูล)และเรเดียม · เรเดียมและแฟรนเซียม · ดูเพิ่มเติม »

เลขอะตอม

เลขอะตอม (atomic number) หมายถึงจำนวนโปรตอนในนิวเคลียสของธาตุนั้นๆ หรือหมายถึงจำนวนอิเล็กตรอนที่วิ่งวนรอบนิวเคลียสของอะตอมที่เป็นกลาง เช่น ไฮโดรเจน (H) มีเลขอะตอมเท่ากับ 1 เลขอะตอม เดิมใช้หมายถึงลำดับของธาตุในตารางธาตุ เมื่อ ดมิทรี อีวาโนวิช เมนเดลีเยฟ (Dmitry Ivanovich Mendeleev) ทำการจัดกลุ่มของธาตุตามคุณสมบัติร่วมทางเคมีนั้น เขาได้สังเกตเห็นว่าเมื่อเรียงตามเลขมวลนั้น จะเกิดความไม่ลงรอยกันของคุณสมบัติ เช่น ไอโอดีน (Iodine) และเทลลูเรียม (Tellurium) นั้น เมื่อเรียกตามเลขมวล จะดูเหมือนอยู่ผิดตำแหน่งกัน ซึ่งเมื่อสลับที่กันจะดูเหมาะสมกว่า ดังนั้นเมื่อเรียงธาตุในตารางธาตุตามเลขอะตอม ตารางจะเรียงตามคุณสมบัติทางเคมีของธาตุ เลขอะตอมนี้ถึงแม้โดยประมาณ แล้วจะแปรผันตรงกับมวลของอะตอม แต่ในรายละเอียดแล้วเลขอะตอมนี้จะสะท้อนถึงคุณสมบัติของธาตุ เฮนรี โมสลีย์ (Henry Moseley) ได้ค้นพบความสัมพันธ์ระหว่างการกระเจิงของ สเปกตรัมของรังสีเอ็กซ์ (x-ray) ของธาตุ และตำแหน่งที่ถูกต้องบนตารางธาตุ ในปี ค.ศ. 1913 ซึ่งต่อมาได้ถูกอธิบายด้วยเลขอะตอม ซึ่งอธิบายถึงปริมาณประจุในนิวเคลียส หรือ จำนวนโปรตอนนั่นเอง ซึ่งจำนวนของโปรตอนนี้เป็นตัวกำหนดคุณสมบัติทางเคมีของธาตุ หมวดหมู่:อะตอม ลเขอะตอม ลเขอะตอม.

การนำความร้อนของธาตุ (หน้าข้อมูล)และเลขอะตอม · เลขอะตอมและแฟรนเซียม · ดูเพิ่มเติม »

เทคนีเชียม

|- | Electron affinity || -53 kJ/mol เทคนีเชียม (Technetium) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 43 และสัญลักษณ์คือ Tc เทคนีเชียมเป็นโลหะทรานซิชันมีสีเทาเงิน Tc-99m เป็นไอโซโทป อายุสั้นใช้ตรวจวินิจฉัยทางการแพทย์ได้มากมาย ที่พบบนโลกเกิดจากผลพลอยได้ของปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิสซั่นของยูเรเนียม-235 และตามธรรมชาติพบในแร่ยูเรเนียม หมวดหมู่:วัสดุศาสตร์ หมวดหมู่:ธาตุเคมี หมวดหมู่:โลหะมีสกุล.

การนำความร้อนของธาตุ (หน้าข้อมูล)และเทคนีเชียม · เทคนีเชียมและแฟรนเซียม · ดูเพิ่มเติม »

เนปทูเนียม

นปทูเนียม (Neptunium)เป็นธาตุกลุ่มแอคติไนต์ธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 93 สัญลักษณ์ Np เป็นธาตุโลหะหนัก กัมมันตภาพรังสี อยู่ในกลุ่มแอกทิไนด์ (actinide group) และเป็นธาตุทรานซูแรนิค (transuranic element) เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่ไม่ปรากฏในธรรมชาติที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ซึ่งชนิดแรกที่ได้จากการสังเคราะห์เป็นผลพลอยได้จากเตาปฏิกรปรมณูและการผลิตพลูโทเนียมไอโซโทปที่เสถียรที่สุดคือ Np-237 ในธรรมชาติพบปริมาณเล็กน้อยในสินแร่ยูเรเนียมธาตุเนปทูเนียมมีสมบัติเป็นโลหะหนักเป็นของแข็งสีเงินเป็นมันวาว มีความบริสุทธิ์สูงมีประโยชน์อย่างมากในการนำมาใช้ผลิตธาตุที่เป็นแหล่งกำเนิดพลังงานนิวเคลียร์ สามารถใช้ทำระเบิดนิวเคลียร์ได้.

การนำความร้อนของธาตุ (หน้าข้อมูล)และเนปทูเนียม · เนปทูเนียมและแฟรนเซียม · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง การนำความร้อนของธาตุ (หน้าข้อมูล)และแฟรนเซียม

การนำความร้อนของธาตุ (หน้าข้อมูล) มี 125 ความสัมพันธ์ขณะที่ แฟรนเซียม มี 58 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 21, ดัชนี Jaccard คือ 11.48% = 21 / (125 + 58)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การนำความร้อนของธาตุ (หน้าข้อมูล)และแฟรนเซียม หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »