โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การทำให้เห็นได้และสื่อลามกอนาจารเด็ก

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง การทำให้เห็นได้และสื่อลามกอนาจารเด็ก

การทำให้เห็นได้ vs. สื่อลามกอนาจารเด็ก

ำลองของการรถยนต์ที่เปลี่ยนรูปร่าง ภายหลังจากการชน การทำให้เห็นได้ หรือ วิชวลไลเซชัน (visualization) และมีการเรียกว่า จินตทัศน์ เป็นการกล่าวถึงการสร้างภาพ แผนผัง หรือ ภาพเคลื่อนไหว ใช้ในการสื่อสารแทนข้อความ โดยวิธีการนี้สามารถใช้ได้ทั้งในทางรูปธรรม และนามธรรม โดยมีทั้งการจำลองเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริงในอดีต เหตุการณ์ที่ไม่สามารถมองเห็นได้ หรือการสร้างภาพในอนาคตเพื่อใช้ในการสื่อสาร การทำให้เห็นได้เป็นหนึ่งในวิธีการทำเหมืองข้อมูล โดยการสร้างภาพคอมพิวเตอร์กราฟิก ที่สามารถนำเสนอข้อมูลมากมายอย่างครบถ้วนแทนการใช้ขัอความนำเสนอข้อมูลที่มากมาย เราอาจพบข้อมูลที่ซ้อนเร้นเมื่อดูข้อมูลชุดนั้นด้วยการทำให้เห็นได้ ถ้าเรามีข้อมูลชุดหนึ่งที่มีข้อมูลอยู่จำนวน 100,000 รายการ แต่เราใช้รูปแบบการนำเสนอเป็นข้อความ ผลลัพธ์คงจะไม่เหมาะสมเพราะจะทำให้เราต้องสร้างรายงานจำนวนมหาศาล กล่าวคือ ถ้าเราสามารถใช้ภาพคอมพิวเตอร์กราฟิกมาช่วยในการนำเสนอข้อมูลชุดนี้แทนการใช้ข้อความ ผลลัพธ์คือเราไม่ต้องสร้างรายงานจำนวนมหาศาล การนำเสนอข้อมูลด้วยการทำให้เห็นได้เพียง 1 ภาพแต่สามารถแทนค่าของชุดข้อมูลจำนวนมหาศาลได้ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ภาพเพียง 1 ภาพอาจใช้แทนข้อมูลข่าวสารได้เป็น 100 คำหรือ 1,000 คำ จึงเป็นแนวคิดของการทำการทำให้เห็นได้ นอกจากนี้เรายังสามารถทำการโต้ตอบกับการทำให้เห็นได้ (interactive visualization) ได้อีกด้วย ซึ่งการนำเสนอข้อมูลในรูปแบบข้อความไม่สามารถโต้ตอบได้ ข้อมูลที่มีปริมาณมหาศาลถ้าสามารถนำเสนอให้เห็นในแบบการทำให้เห็นได้ อาจทำให้เราพบข้อมูลที่ซ่อนเร้นอยู่ ยกตัวอย่างเช่น ถ้าเรานำชุดข้อมูล IRIS ซึ่งเป็นข้อมูลตัวเลขของดอกไม้ชนิดหนึ่งจำนวน 150 รายการ นำชุดข้อมูลนนี้มาแสดงให้เห็นในแบบการทำให้เห็นได้โดยวิธี scatter plot เราจะเห็นว่าจุด plot ที่แสดงมีการเกาะกลุ่มกันจำนวน 3 กลุ่ม บางส่วนของกลุ่มที่ 1 intersaction กับบางส่วนของกลุ่มที่ 2 ส่วนกลุ่มที่ 3 ไม่มีส่วนใด intersaction กับกลุ่มที่ 1 และกลุ่มที่ 2 แสดงให้เห็นว่าชุดข้อมูลดอกไม้ IRIS นี้มีจำนวน 3 กลุ่มที่คล้ายคลึงกันและบางสมาชิกของกลุ่มแรกมีความคล้ายคลึงกับบางสมาชิกของกลุ่มที่ 2 ส่วนสมาชิกทั้งหมดของกลุ่มที่ 3 มีความแตกต่างกับสมาชิกในกลุ่มที่ 1 และกลุ่มที่ 2 อย่างมีนัยสำคัญ. ื่อลามกอนาจารเด็ก (Child pornography) คือสื่อลามกอนาจารที่ฉวยประโยชน์จากเด็ก (รวมทั้งวัยรุ่น) มีจุดประสงค์เพื่อเร้าอารมณ์ทางเพศ ซึ่งอาจจะผลิตโดยทำร้ายเด็กทางเพศ (เช่น ภาพทารุณเด็กทางเพศ) หรืออาจจะเป็นสื่อแบบเทียมคือเป็นสื่อแต่ง ใช้ผู้ใหญ่ที่แต่งให้เหมือนเด็ก หรือเป็นภาพสร้างขึ้นโดยใช้คอมพิวเตอร์ล้วน ๆ โดยบางทีแม้ภาพวาดหรือแอนิเมชัน ก็สามารถพิจารณาว่าเป็นสื่อเทียมได้เหมือนกัน ทารุณกรรมต่อเด็กเกิดขึ้นเมื่อมีกิจกรรมทางเพศกับเด็ก หรือให้เด็กแสดงบริเวณอวัยวะเพศหรือบริเวณหัวหน่าวเพื่อเร้าอารมณ์ แล้วบันทึกลงในสื่อ สื่อที่ใช้อาจมีหลายแบบ รวมทั้งวรรณกรรม นิตยสาร ภาพถ่าย ประติมากรรม จิตรกรรม การ์ตูน แอนิเมชัน บันทึกเสียง วิดีโอ และวิดีโอเกม กฎหมายเกี่ยวกับสื่อลามกอนาจารเด็กมักจะรวมภาพทางเพศที่เกี่ยวกับเด็กก่อนวัยเจริญพันธุ์ เด็กวัยเจริญพันธุ์ ผู้เยาว์หลังวัยเจริญพันธุ์ และภาพเด็กที่สร้างโดยคอมพิวเตอร์ ผู้ทำผิดเกี่ยวกับสื่อลามกอนาจารเด็กที่ถูกจับโดยมากจะมีรูปเด็กก่อนวัยเจริญพันธุ์ ในประเทศสหรัฐอเมริกา ผู้ที่มีภาพเด็กหลังวัยเจริญพันธุ์มีโอกาสน้อยกว่าที่จะถูกดำเนินคดี แม้ว่าจะผิดกฎหมายเช่นกัน ผู้ผลิตสื่อนาจารเด็กพยายามจะหลีกเลี่ยงการถูกดำเนินคดีโดยขายสื่อนอกประเทศ แต่ก็มีการจับกุมผู้ทำผิดเช่นนี้เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ในประเทศต่าง ๆ คนใคร่เด็กดูและเก็บสะสมสื่อเด็กก่อนวัยเจริญพันธุ์มีจุดประสงค์หลายอย่าง เริ่มตั้งแต่การใช้เพื่อประโยชน์ทางเพศส่วนตัว การแลกเปลี่ยนกับคนใคร่เด็กอื่น ๆ การเตรียมเด็กเพื่อทารุณกรรมทางเพศ หรือการหลอกล่อเด็กให้ติดกับเพื่อฉวยประโยชน์ทางเพศ เช่น เพื่อทำสื่อลามกหรือเพื่อการค้าประเวณี เด็กบางครั้งก็ผลิตสื่อลามกเองหรือเพราะถูกบีบบังคับโดยผู้ใหญ่ สื่อลามกอนาจารเด็กผิดกฎหมายและจะถูกตรวจพิจารณาในที่ต่าง ๆ โดยมากในโลก รวมทั้งประเทศไทยที่นิยามคำว่า "เด็ก" ว่าหมายถึงบุคคลที่มีอายุไม่เกิน 18 ปี ประเทศสมาชิกขององค์การตำรวจอาชญากรรมระหว่างประเทศ (Interpol) 94 ประเทศจาก 187 มีกฎหมายโดยเฉพาะในเรื่องนี้โดยปี 2551 และนี่ยังไม่ได้รวมประเทศที่ห้ามสื่อลามกทุกอย่าง ในบรรดา 94 ประเทศเหล่านี้ การมีสื่อลามกอนาจารเด็กจัดเป็นอาชญากรรมใน 58 ประเทศไม่ว่าตั้งใจจะขายหรือเผยแพร่หรือไม่ รวมทั้งประเทศไทย ทั้งการเผยแพร่และการมี จัดเป็นอาชญากรรมในประเทศตะวันตกโดยมาก มีขบวนการที่ขับเคลื่อนให้สื่อลามกอนาจารเด็กเป็นสิ่งผิดกฎหมายทั่วโลก รวมทั้งองค์กรเช่นสหประชาชาติและคณะกรรมาธิการยุโรป เหตุผลที่ต้องมีกฎหมายสื่อลามกเด็กเป็นการเฉพาะ เหตุผลที่ประเทศต่างๆ มีกฎหมายสื่อลามกเด็กโดยเฉพาะแยกต่างหากจากกฎหมายสื่อลามกผู้ใหญ่ เนื่องจากแนวคิดควบคุมสื่อลามกทั้งสองประเภทต่างกัน เหตุผลหลักในการกำหนดโทษอาญากับการกระทำที่เกี่ยวกับสื่อลามกผู้ใหญ่ตั้งอยู่บนแนวคิดเรื่องการปกป้องศีลธรรมโดยรวมของสังคม กล่าวคือ ภาครัฐเชื่อว่าการปล่อยให้มีการผลิต จำหน่าย หรือ เผยแพร่สื่อลามกผู้ใหญ่อย่างเสรีอาจก่อให้เกิดความเสื่อมทรามต่อศีลธรรมทางเพศของคนในสังคมได้  การกำหนดโทษอาญาเพื่อควบคุมและปราบปรามสื่อลามกเด็กมีเหตุผลพื้นฐานที่ต่างออกไป กล่าวคือ เพื่อปกป้องคุ้มครองเด็กจากการถูกล่วงละเมิดทางเพศ เพราะการผลิตสื่อลามกเด็ก (โดยเฉพาะที่ใช้เด็กจริงๆ แสดง) เป็นรูปแบบหนึ่งของการล่วงละเมิดทางเพศจากเด็ก ในด้านร่างกาย เด็กยังไม่เจริญเติบโตเต็มที่ การให้เด็กมีกิจกรรมทางเพศอาจก่อให้เกิดการบาดเจ็บในด้านจิตใจ เนื่องจากการเรียนรู้ของเด็กยังไม่พัฒนาเพียงพอที่จะเข้าใจในเรื่องความเหมาะสมของเรื่องเพศ การบังคับหรือล่อลวงให้เด็กมีกิจกรรมทางเพศหรือการถ่ายภาพยั่วยุทางเพศต่างๆ ถือได้ว่าเป็นการทำร้ายจิตใจเด็ก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อเด็กพบว่าสิ่งที่ตนกระทำไปเป็นเรื่องไม่เหมาะสมสำหรับวัยตัวเอง ก็อาจเกิดความอับอายกลายเป็นบาดแผลทางจิตใจซึ่งอาจจะฝังลึกในใจเด็กไปตลอดชีวิต นอกจากนี้ ในหลายๆ กรณี การที่เด็กเข้าร่วมกิจกรรมทางเพศโดยไม่สมัครใจหรือเกิดจากการล่อลวง บังคับข่มขู่ หรือความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าเป็นการแสวงหาประโยชน์อันมิชอบจากความเยาว์วัยของเด็กที่ยังไม่มีความสามารถในการตัดสินใจเพียงพอเกี่ยวกับความเหมาะสมของการมีเพศสัมพันธ์ ยิ่งในกรณีของสื่อลามกเด็กบนอินเทอร์เน็ต ผลกระทบร้ายแรงต่อตัวเด็กอาจขยายเป็นวงกว้างกว่า กล่าวคือ ภาพหรือคลิปวิดีโอบันทึกการล่วงละเมิดทางเพศต่อเด็กดังกล่าวจะถูกส่งผ่านต่อกันไปและหมุนเวียนอยู่ในโลกไซเบอร์ไม่มีวันสิ้นสุด สิ่งนี้ยิ่งสร้างบาดแผลทางใจให้กับเด็กผู้ปรากฏในสื่อลามกอย่างไม่มีทางเยียวยาหรือลบเลือนออกไปได้.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การทำให้เห็นได้และสื่อลามกอนาจารเด็ก

การทำให้เห็นได้และสื่อลามกอนาจารเด็ก มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): แอนิเมชัน

แอนิเมชัน

ตัวอย่างแอนิเมชันของเครื่องจักรรูปทรงวงกลม แอนิเมชัน (animation) หมายถึง การสร้างภาพเคลื่อนไหวโดยการฉายภาพนิ่งหลาย ๆ ภาพต่อเนื่องกันด้วยความเร็วสูงโดยการนำภาพนิ่งมาเรียงต่อกัน การใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกส์ในการคำนวณสร้างภาพจะเรียกการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยคอมพิวเตอร์หรือคอมพิวเตอร์แอนิเมชัน หากใช้เทคนิคการถ่ายภาพหรือวาดรูป หรือหรือรูปถ่ายแต่ละขณะของหุ่นจำลองที่ค่อย ๆ ขยับ จะเรียกว่า ภาพเคลื่อนไหวแบบการเคลื่อนที่หยุดหรือสตอปโมชัน (stop motion) โดยหลักการแล้ว ไม่ว่าจะสร้างภาพ หรือเฟรมด้วยวิธีใดก็ตาม เมื่อนำภาพดังกล่าวมาฉายต่อกันด้วยความเร็ว ตั้งแต่ 16 เฟรมต่อวินาทีขึ้นไป เราจะเห็นเหมือนว่า ภาพดังกล่าวเคลื่อนไหวได้ต่อเนื่องกัน ทั้งนี้เนื่องจากการเห็นภาพติดตา ในทางคอมพิวเตอร์ การจัดเก็บภาพแบบแอนิเมชันที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในอินเทอร์เน็ต มีหลายรูปแบบไฟล์เช่น GIF APNG MNG SVG แฟลช และไฟล์สำหรับเก็บวีดิทัศน์ประเภทอื่น.

การทำให้เห็นได้และแอนิเมชัน · สื่อลามกอนาจารเด็กและแอนิเมชัน · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง การทำให้เห็นได้และสื่อลามกอนาจารเด็ก

การทำให้เห็นได้ มี 5 ความสัมพันธ์ขณะที่ สื่อลามกอนาจารเด็ก มี 107 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 0.89% = 1 / (5 + 107)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การทำให้เห็นได้และสื่อลามกอนาจารเด็ก หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »