การติดเชื้อในโรงพยาบาลและจุลชีพก่อโรค
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง การติดเชื้อในโรงพยาบาลและจุลชีพก่อโรค
การติดเชื้อในโรงพยาบาล vs. จุลชีพก่อโรค
การติดเชื้อในโรงพยาบาล (hospital-acquired infection, nosocomial infection) คือการติดเชื้อที่เกิดขึ้นในโรงพยาบาลหรือสถานที่อื่นๆ ที่ให้บริการสุขภาพ เช่น บ้านพักผู้ป่วย บ้านพักคนชรา สถานบำบัด ห้องตรวจผู้ป่วยนอก หรืออื่นๆ การติดเชื้อในโรงพยาบาลเกิดขึ้นได้หลายวิธี เช่น ติดผ่านบุคลากรทางการแพทย์ที่มีเชื้อปนเปื้อนบนร่างกาย อุปกรณ์ที่ปนเปื้อน ผ้าปูที่นอน หรือละอองสารคัดหลั่งที่มีเชื้อ เป็นต้น ที่มาของเชื้ออาจมาจากสิ่งแวดล้อม จากผู้ป่วย จากบุคลากรที่ติดเชื้อ หรืออาจหาแหล่งที่มาของเชื้อไม่พบก็ได้ เชื้ออาจมาจากร่างกายของผู้ป่วยเอง ซึ่งเดิมเป็นเชื้อที่ยังไม่สามารถก่อให้เกิดโรคได้ แต่เมื่อผู้ป่วยรับการรักษาบางอย่าง เช่น การผ่าตัด หรือหัตถการบางประเภท ก็ทำให้เชื้อที่มีอยู่เดิมมีโอกาสทำให้เกิดการติดเชื้อได้ เช่น การติดเชื้อที่แผลผ่าตัด ศูนย์ควบคุมโรคของประเทศสหรัฐอเมริกา (CDC) ประมาณไว้ว่ามีผู้ติดเชื้อในโรงพยาบาลประมาณ 1.7 ล้านคน จากเชื้อต่างๆ ทั้งแบคทีเรีย เชื้อรา และอื่นๆ ทำให้มีผู้เสียชีวิตถึงปีละ 99,000 คน หมวดหมู่:โรคเหตุอาชีพ หมวดหมู่:คุณภาพการดูแลสุขภาพ หมวดหมู่:เวชบำบัดวิกฤต หมวดหมู่:อนามัยทางการแพทย์. เชื้อก่อโรค (pathogen) โดยทั่วไปหมายถึงเชื้อที่ทำให้เกิดโรคติดเชื้อ เช่น ไวรัส แบคทีเรีย พรีออน เชื้อรา หรือจุลชีพอื่นๆ แต่เดิมคำว่า pathogen หมายถึงสิ่งที่ทำให้เกิดโรค อาจเป็นเชื้อหรือไม่ใช่เชื้อก็ได้ แต่ปัจจุบันนิยมใช้ในความหมายถึงเชื้อที่ทำให้เกิดโรคมากกว่า หมวดหมู่:โรคติดเชื้อ.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การติดเชื้อในโรงพยาบาลและจุลชีพก่อโรค
การติดเชื้อในโรงพยาบาลและจุลชีพก่อโรค มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ การติดเชื้อในโรงพยาบาลและจุลชีพก่อโรค มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง การติดเชื้อในโรงพยาบาลและจุลชีพก่อโรค
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การติดเชื้อในโรงพยาบาลและจุลชีพก่อโรค หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: