โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การตายเฉพาะส่วนและแกรนูโลไซต์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง การตายเฉพาะส่วนและแกรนูโลไซต์

การตายเฉพาะส่วน vs. แกรนูโลไซต์

การตายของเนื้อเยื่อหลังจากเกิดแผลไหม้อย่างรุนแรง การตายเฉพาะส่วน (มาจากภาษา Nekros ตาย) เป็นการตายของเซลล์และเนื้อเยื่อซึ่งจะมีกระบวนการเปลี่ยนแปลงต่อเนื่องตามมาอย่างมาก ได้แก่การบวมของเซลล์, การย่อยสลายโครมาติน, และการเสื่อมสภาพของเยื่อหุ้มเซลล์และเยื่อหุ้มออร์แกเนลล์ ในระยะต่อมาจะเกิดการย่อยสลายดีเอ็นเอ, การเกิดช่องว่าง (vacuolation) ของเอนโดพลาสมิกเรติคูลัม (endoplasmic reticulum), การสลายของออร์แกเนลล์, และเกิดการสลายเซลล์ หลังจากเยื่อหุ้มเซลล์แตกสลายจะมีการปล่อยองค์ประกอบภายในเซลล์ซึ่งทำให้เกิดการอักเสบ กระบวนการดังกล่าวแยกออกจากการเปลี่ยนแปลงหลังการตาย (Postmortem change) และจากการคงสภาพเนื้อเยื่อโดยฟอร์มาลินมานะ ทวีวิศิษฎ์ (บรรณาธิการ), พยาธิวิทยาพื้นฐาน. อีโอซิโนฟิล เบโซฟิล แกรนูโลไซต์ (granulocyte) เป็นเซลล์เม็ดเลือดขาวที่มีแกรนูลอยู่ภายในเซลล์ แบ่งย่อยได้เป็น นิวโตรฟิล (neutrophil) มีแกรนูลขนาดเล็ก นิวเคลียสมี 2-5 พู มีหน้าที่ทำลายสิ่งแปลกปลอมด้วยวิธีฟาโกไซโตซิส อีโอซิโนฟิล (eosinophil) มีแกรนูลขนาดกลาง นิวเคลียสมี 2 พู มีหน้าที่ทำลายสิ่งแปลกปลอม และยับยั้งการสร้างสารก่อภูมิแพ้ เบโซฟิล (basophil) มีแกรนูลขนาดใหญ่ นิวเคลียสรูปร่างบิดเป็นรูป s หรือ m มีหน้าที่ป้องกันไม่ให้เลือดแข็งตัว และหลั่งสารฮิสตามีน (histamine) ซึ่งเป็นสารก่อภูมิแพ้ หมวดหมู่:เลือด หมวดหมู่:เม็ดเลือดขาว หมวดหมู่:เซลล์ หมวดหมู่:โลหิตวิทยา หมวดหมู่:เซลล์เม็ดเลือด หมวดหมู่:ชีววิทยาของเซลล์.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การตายเฉพาะส่วนและแกรนูโลไซต์

การตายเฉพาะส่วนและแกรนูโลไซต์ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง การตายเฉพาะส่วนและแกรนูโลไซต์

การตายเฉพาะส่วน มี 39 ความสัมพันธ์ขณะที่ แกรนูโลไซต์ มี 4 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (39 + 4)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การตายเฉพาะส่วนและแกรนูโลไซต์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »