การตั้งครรภ์และวัคซีนโรคอีสุกอีใส
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง การตั้งครรภ์และวัคซีนโรคอีสุกอีใส
การตั้งครรภ์ vs. วัคซีนโรคอีสุกอีใส
การตั้งครรภ์ คือ การเจริญของลูกตั้งแต่หนึ่ง ที่เรียก เอ็มบริโอหรือทารกในครรภ์ ในมดลูกของหญิง เป็นชื่อสามัญของการตั้งครรภ์ในมนุษย์ การตั้งครรภ์แฝดเกี่ยวข้องกับการมีเอ็มบริโอหรือตัวอ่อนมากกว่าหนึ่งในการตั้งครรภ์ครั้งเดียว เช่น ฝาแฝด การคลอดปกติเกิดราว 38 สัปดาห์หลังการเริ่มตั้งท้อง หรือ 40 สัปดาห์หลังเริ่มระยะมีประจำเดือนปกติครั้งสุดท้ายในหญิงซึ่งมีความยาวรอบประจำเดือนสี่สัปดาห์ การร่วมเพศหรือเทคโนโลยีช่วยเจริญพันธุ์ทำให้เกิดการเริ่มตั้งท้อง เอ็มบริโอเป็นลูกที่กำลังเจริญในช่วง 8 สัปดาห์แรกหลังเริ่มตั้งท้อง จากนั้นใช้คำว่า ทารกในครรภ์ จนกระทั่งคลอด นิยามทางการแพทย์หรือกฎหมายของหลายสังคมมีว่า การตั้งครรภ์ของมนุษย์แบ่งเป็น 3 ไตรมาสเพื่อง่ายต่อการอ้างอิงช่วงการเจริญก่อนเกิด ไตรมาสแรกมีความเสี่ยงการแท้งเอง (การตายธรรมชาติของตัวอ่อนหรือทารกในครรภ์) สูงสุด ในไตรมาสที่สองเริ่มเฝ้าสังเกตและวินิจฉัยการเจริญของทารกในครรภ์ได้ง่ายขึ้น ไตรมาสที่สามมีการเจริญของทารกในครรภ์เพิ่มและการเจริญของแหล่งสะสมไขมันของทารกในครรภ์ จุดความอยู่รอดได้ของทารกในครรภ์ (point of fetal viability) หรือจุดเวลาที่ทารกในครรภ์สามารถดำรงชีวิตได้นอกมดลูก ปกติตรงกับปลายไตรมาสที่ 2 หรือต้นไตรมาสที่ 3 ทารกที่คลอดก่อนจุดนี้มีความเสี่ยงสูงต่อภาวะทางการแพทย์หรือตาย ในสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร 40% ของการตั้งครรภ์เป็นการตั้งครรภ์ที่ไม่ได้ตั้งใจ และระหว่าง 25% ถึง 50% ของการตั้งครรภ์ที่ไม่ได้ตั้งใจเหล่านี้เป็นการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ในการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ที่เกิดในสหรัฐอเมริกา หญิง 60% ใช้การคุมกำเนิดระหว่างเดือนที่เกิดการตั้งครร. วัคซีนโรคอีสุกอีใส เป็นวัคซีนที่ใช้ป้องกันอีสุกอีใส วัคซีนหนึ่งเข็มสามารถป้องกันโรคขนาดปานกลางได้ 95% และโรคขั้นรุนแรงได้ 100% การให้วัคซีนสองเข็มจะให้ผลที่มีประสิทธิภาพมากกว่าเพียงหนึ่งเข็ม ถ้าให้แก่ผู้ที่ไม่มีภูมิคุ้มกันโรคภายในห้าวันหลังจากที่ได้รับเชื้ออีสุกอีใส วัคซีนจะสามารถป้องกันเชื้อโรคในผู้ติดเชื้อได้เกือบทุกราย ทั้งนี้การให้วัคซีนแก่ประชากรกลุ่มใหญ่จะสามารถป้องกันผู้ที่ไม่ได้รับวัคซีนได้อีกด้วย วิธีการให้วัคซีนคือการฉีดเข้าใต้ผิวหนัง องค์การอนามัยโลก (WHO) แนะนำการให้วัคซีนตามกำหนดการให้วัคซีนเท่านั้นถ้าประชากรที่ได้รับวัคซีนของประเทศดังกล่าวมีจำนวนมากกว่า 80% แต่ถ้าประชากรที่ได้รับวัคซีนมีจำนวนเพียง 20 ถึง 80% ก็เป็นไปได้ว่าประชากรที่จะติดเชื้อโรคเมื่ออายุมากขึ้นก็จะมีจำนวนมากขึ้นและผลโดยรวมก็อาจแย่ลงตามไปด้วย ดังนั้นจึงแนะนำว่าควรที่จะให้วัคซีนไม่ว่าจะเพียงเข็มเดียวหรือสองเข็มก็ตาม ข้อแนะนำสำหรับการให้วัคซีนในประเทศสหรัฐอเมริกาสองเข็ม โดยเริ่มเข็มแรกเมื่อเด็กอายุสิบสองถึงสิบห้าเดือน นับตั้งแต่ปี 2555 ประเทศส่วนใหญ่ในสหภาพยุโรปได้แนะแนะนำให้มีการฉีดวัคซีนแก่เด็กทุกคนหรือกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง แต่ทั้งนี้ไม่ใช่ทุกประเทศที่มีการจัดหาวัคซีนเนื่องจากราคาของวัคซีน วัคซีนนี้มีความปลอดภัยสูง ผลข้างเคียงเล็กน้อยอาจได้แก่ อาการปวดบริเวณที่ฉีดวัคซีน มีไข้ และผื่นผิวหนัง ผลข้างเคียงขั้นรุนแรงนั้นพบได้น้อยมากและส่วนใหญ่มักเกิดในกลุ่มของผู้ที่มีการกดการทำงานของภูมิคุ้มกัน ควรต้องใช้ความระมัดระวังในการใช้วัคซีนนี้ในผู้ที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ และไม่แนะนำให้ใช้ในผู้ที่อยู่ในระหว่างการตั้งครรภ์ อย่างไรก็ตาม มีบางกรณีที่มีให้การวัคซีนในระหว่างการตั้งครภ์และไม่พบผลลัพธ์เชิงลบใดๆ การให้วัคซีนนี้อาจทำโดยการให้เพียงตัวเดียวหรือร่วมกับวัคซีนเอ็มเอ็มอาร์ วัคซีนนี้ผลิตจากเชื้อไวรัสที่อ่อนฤทธิ์ การจำหน่ายวัคซีนอีสุกอีใสครั้งแรกเกิดขึ้นเมื่อปี 2527 วัคซีนนี้อยู่ในทะเบียนยาที่จำเป็นขององค์การอนามัยโลก โดยเป็นยารักษาโรคที่มีความสำคัญมากที่สุดซึ่งจำเป็นต่อระบบสุขภาพขั้นพื้นฐาน ในสหรัฐอเมริการาคาของวัคซีนนี้อยู่ที่ระหว่าง 100 ถึง 200 เหรียญสหรัฐฯ.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การตั้งครรภ์และวัคซีนโรคอีสุกอีใส
การตั้งครรภ์และวัคซีนโรคอีสุกอีใส มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): องค์การอนามัยโลก
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ การตั้งครรภ์และวัคซีนโรคอีสุกอีใส มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง การตั้งครรภ์และวัคซีนโรคอีสุกอีใส
การเปรียบเทียบระหว่าง การตั้งครรภ์และวัคซีนโรคอีสุกอีใส
การตั้งครรภ์ มี 61 ความสัมพันธ์ขณะที่ วัคซีนโรคอีสุกอีใส มี 5 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 1.52% = 1 / (61 + 5)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การตั้งครรภ์และวัคซีนโรคอีสุกอีใส หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: