โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การตรึงนักบุญเปโตรบนกางเขน (การาวัจโจ)และมาซัชโช

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง การตรึงนักบุญเปโตรบนกางเขน (การาวัจโจ)และมาซัชโช

การตรึงนักบุญเปโตรบนกางเขน (การาวัจโจ) vs. มาซัชโช

นักบุญปีเตอร์ตรึงกางเขน (Crucifixion of St.) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยคาราวัจโจ จิตรกรสมัยบาโรกคนสำคัญชาวอิตาลีที่ปัจจุบันอยู่ที่วัดซานตามาเรียเดลโปโปโลในกรุงโรมในประเทศอิตาลี ภาพ “นักบุญปีเตอร์ตรึงกางเขน” เป็นภาพที่เขียนเสร็จในปี ค.ศ. 1601 เป็นภาพที่เขียนสำหรับชาเปลเซราซิ (Cerasi Chapel) ภายในวัดซานตามาเรียเดลโปโปโล ตรงกันข้ามเป็นภาพ “มโนทัศน์ของนักบุญพอลบนถนนสู่ดามาสคัส” ซึ่งเป็นภาพเขียนอีกภาพหนึ่งของคาราวัจโจ ตรงกลางบนแท่นบูชาระหว่างสองภาพนี้เป็นภาพ “อัสสัมชัญของพระแม่มารี” โดยอันนิบาเล คารัคชี ภาพนี้เป็นภาพที่แสดงการพลีชีพโดยการถูกตรึงกางเขนของนักบุญปีเตอร์—ก่อนจะถูกตรึงกางเขนนักบุญปีเตอร์ขอให้เป็นกางเขนที่กลับกับกางเขนที่ใช้ในการตรึงพระเยซูเพื่อที่จะไม่เป็นการเลียนแบบพระองค์ นักบุญปีเตอร์จึงถูกตรึงกางเขนโดยการห้อยหัวลงมา นอกจากนักบุญปีเตอร์แล้วก็มีชาวโรมันที่เราไม่เห็นหน้าพยายามที่จะตั้งกางเขนของนักบุญผู้สูงอายุแต่ก็ยังมีกล้ามเนื้อ นักบุญปีเตอร์ดูจะมีน้ำหนักมากกว่าที่ร่างกายบ่งไว้ที่ต้องใช้คนถึงสามคนในการพยายามยกกางเขนขึ้นราวกับว่าบาปในสิ่งที่กำลังทำถ่วงตัวบุคคลทั้งสาม ภาพสองภาพนี้และฉากแท่นบูชาที่เขียนโดยอันนิบาเล คารัคชีได้รับการจ้างให้เขียนโดยมอนซิยอร์ทิแบริโอ เซราซิผู้เสียชีวิตไม่นานหลังจากนั้น ภาพเขียนแรกทั้งสองภาพได้รับการปฏิเสธ และผ่านมือไปเป็นส่วนหนึ่งของงานสะสมส่วนบุคคลของคาร์ดินัลซันเนซซิโอ นักวิชาการหลายคนที่รวมทั้งจอห์น แกช, เฮเลน แลกดอน และปีเตอร์ รอบบ์ สันนิษฐานว่าคาร์ดินัลซันเนซซิโอฉวยโอกาสเมื่อเซราซิเสียชีวิตโดยไม่คาดในการเป็นเจ้าของภาพหลายภาพของคาราวัจโจ แต่ภาพแรกของ “นักบุญปีเตอร์ตรึงกางเขน” สูญหายไป นักวิชาการบางคนเชื่อว่าเป็นภาพที่เป็นของพิพิธภัณฑ์เฮอร์มิทาจ ในเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก แต่ก็ไม่เป็นที่ยอมรับกัน ภาพที่สองจึงได้รับการยอมรับในปี.. "ภาพเหมือนตนเอง" มาซัชชีโอ หรือ ตอมมาโซ มาซัชชีโอ (Masaccio; ชื่อเมื่อแรกเกิด: Tommaso Cassai หรือ Tommaso di Ser Giovanni di Mone, 21 ธันวาคม ค.ศ. 1401 - ฤดูใบไม้ร่วง ค.ศ. 1428) เป็นจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาคนสำคัญของประเทศอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทาง การเขียนจิตรกรรมฝาผนัง และบานพับภาพ จิตรกรรมฝาผนังของมาซัชชีโอเป็นงานเชิงมนุษยนิยมซึ่งทำให้แสดงให้เห็นความยืดหยุ่นที่ไม่เคยเห็นกันมาก่อน ชื่อ “มาซัชชีโอ” เป็นสมญาของชื่อตัว “ตอมมาโซ” เพราะ “มาซัชชีโอ” แปลว่า ตอมมาโซ “ใหญ่” “อ้วน” “งุ่มง่าม” หรือ “เลอะเทอะ” สร้อยที่ให้นี้เพื่อให้แตกต่างจากจิตรกรที่มาซัชชีโอร่วมงานด้วยที่ชื่อ “ตอมมาโซ” เช่นกัน “ตอมมาโซ” หลังนี้มารู้จักกันในชื่อ “มาโซลีโน ดา ปานีกาเล” (Masolino da Panicale) หรือ “ตอมมาโซเล็ก” แม้ว่ามาซัชชีโอจะวาดภาพเพียงไม่นานแต่ก็มีอิทธิพลต่อจิตรกรคนอื่นๆ มาซัชชีโอเป็นจิตรกรคนแรกๆ ที่ใช้การเขียนแบบทัศนียภาพโดยเฉพาะการใช้จุดลับตา หรือจุดอันตธาน (Vanishing point) เป็นครั้งแรก นอกจากนั้นมาซาชิโอก็ยังละทิ้งวิธีการเขียนแบบกอธิคและการใช้การตกแต่งอย่างเช่นจิตรกรเจนตีเล ดา ฟาบรีอาโน (Gentile da Fabriano) มาเป็นแบบที่เป็นธรรมชาติมากกว่าโดยใช้การวาดแบบทัศนียภาพเข้าช่ว.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การตรึงนักบุญเปโตรบนกางเขน (การาวัจโจ)และมาซัชโช

การตรึงนักบุญเปโตรบนกางเขน (การาวัจโจ)และมาซัชโช มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): จิตรกรรมสีน้ำมันซีโมนเปโตรประเทศอิตาลี

จิตรกรรมสีน้ำมัน

"โมนาลิซา" โดยเลโอนาร์โด ดา วินชี ราว ค.ศ. 1503-1506 จิตรกรรมสีน้ำมัน หรือ ภาพเขียนสีน้ำมัน (oil painting) คือการเขียนภาพโดยใช้สีฝุ่นที่ผสมกับน้ำมันแห้ง (drying oil) — โดยเฉพาะในตอนต้นของยุโรปสมัยใหม่, น้ำมันลินสีด (linseed oil) ตามปกติแล้วก็จะต้มน้ำมันเช่นลินสีดกับยางสนหรือยางสนหอม (frankincense) ส่วนผสมนี้เรียกว่า "น้ำมันเคลือบ" (varnish) ซึ่งเป็นสิ่งที่ทำให้ภาพเขียนมีความหนาและเป็นเงา น้ำมันอื่นที่ใช้ก็มีน้ำมันเม็ดฝิ่น, น้ำมันวอลนัต, และน้ำมันดอกคำฝอย น้ำมันแต่ละอย่างก็มีคุณภาพต่าง ๆ กัน เช่นอาจจะทำให้สืเหลืองน้อยลง หรือใช้เวลาแห้งไม่เท่ากัน บางครั้งก็จะเห็นความแตกต่างจากเงาของภาพเขียนแล้วแต่ชนิดของน้ำมัน จิตรกรจะใช้น้ำมันหลายชนิดในภาพเขียนเดียวกันเพื่อให้ได้ลักษณะของภาพเขียนออกมาตามที่ต้องการ การแสดงออกของสีก็จะต่างกันตามแต่วัสดุที่ใช้เขียน.

การตรึงนักบุญเปโตรบนกางเขน (การาวัจโจ)และจิตรกรรมสีน้ำมัน · จิตรกรรมสีน้ำมันและมาซัชโช · ดูเพิ่มเติม »

ซีโมนเปโตร

ซีโมนเปโตร (Σιμων Πέτρος ซีมอน เปโตฺรส) หรืออัครทูตเปโตร (Απόστολος Πέτρος อะโปสโตโลส เปโตฺรส) ชาวคาทอลิกเรียกว่านักบุญเปโตร (Saint Peter) เดิมชื่อซีโมน เป็นชาวประมงคนหนึ่งของตำบลเบทไซดา (ลก. 5:3;ยน.1:44) แต่ว่าต่อมาได้ย้ายมาตั้งหลักแหล่งที่เมืองคาร์เปอร์นาอุม (มก. 1: 21.29) นักบุญอันดรูว์ น้องชายของท่านได้เป็นคนแนะนำให้ท่านติดตามพระเยซู (ยน. 1:42) และอาจเป็นนักบุญยอห์นผู้ให้บัพติศมาที่ได้เป็นผู้ตระเตรียมจิตใจของท่านสำหรับการพบปะครั้งสำคัญของท่านกับพระเยซู พระเยซูทรงได้เปลี่ยนชื่อท่านใหม่ว่าเปโตร ซึ่งแปลว่า "ศิลา" (มธ. 16: 17-19) ครั้งหนึ่งพระเยซูตรัสถามท่านว่า "ท่านคิดว่าเราเป็นใคร" และเปโตรได้ทูลว่า "พระองค์คือพระคริสต์ พระบุตรพระเป็นเจ้า" พระเยซูจึงตรัสว่า "เราจะตั้งเราเป็นหัวหน้าแทนท่าน ทั้งจะมอบกุญแจอาณาจักรสวรรค์" (มธ. 16: 15-19) สัญลักษณ์ที่เห็นเด่นชัดในภาพคือ มือของท่านมีลูกกุญแจ เปโตรเป็นพยานบุคคลผู้หนึ่งที่ได้แลเห็นพระคูหาว่างเปล่าของพระอาจารย์ (ยน. 20:6) และได้เห็นการคืนพระชนม์ของพระเยซู (ลก. 23:34) หลังจากที่พระเยซูเสด็จขึ้นสู่สวรรค์แล้ว ท่านก็ทำหน้าที่เป็นผู้นำบรรดาคริสตชน (กจ. 1: 15; 15:7) ได้กล่าวสรุปข่าวดี (พระวรสาร) (กจ. 2:14-41) และท่านเองเป็นคนแรกที่เห็นความจำเป็นที่จะต้องเปิดคริสตจักรไปสู่พวกคนต่างชาติ (กจ.10-11) เปโตรเขียนจดหมาย 2 ฉบับที่ทรงคุณค่าอย่างมากคือ 1 และ 2 เปโตร ท้ายที่สุดเปโตรได้เสียสละชีวิตเพื่อพระเยซูตามคำทำนายของพระองค์ (ยน 21.18-19) ภารกิจด้านวิญญาณที่ได้รับมอบหมายมิใช่ว่าจะช่วยให้ท่านหมดจากสภาพของความเป็นคนหรือจากข้อบกพร่องต่าง ๆ ทางอารมณ์ก็หาไม่ (มธ.10: 41; 14:26,66-72; ยน. 13: 6;18:10; มธ. 14: 29-31) เปาโลอัครทูตเองก็มิได้ลังเลใจแต่อย่างใดที่จะพูดจาต่อว่าท่านเวลาที่พบกันที่เมืองแอนติออก (กจ.15; กท. 2:11-14) เพื่อเชิญชวนท่านว่าไม่ต้องปฏิบัติตามแบบของพวกยิว ในเรื่องนี้รู้สึกว่าเปโตร ยังตัดสินใจช้าและยังถือว่ากลุ่มคริสตชนซึ่งเดิมทีเป็นคนต่างศาสนาก็ยังด้อยกว่าหรือเป็นรองกลุ่มคริสตชนที่เดิมทีเป็นชาวยิว (กจ. 6: 1-2) ต่อเมื่อเปโตรได้มาที่กรุงโรม เมื่อนั้นแหละท่านจึงจะได้กลายเป็นอัครทูตของทุก ๆ คน และได้ทำหน้าที่ของท่านอย่างครบถ้วนคือเป็น "ศิลาหัวมุม" ของคริสตจักรของพระเยซูโดยรวมชาวยิวและคนต่างศาสนาให้เข้ามาอยู่ภายในอาคารเดียวกัน และท่านได้ประทับตราภารกิจหน้าที่นี้ด้วยการหลั่งโลหิตของท่านตามแบบพระอาจารย์ คริสตจักรโรมันคาทอลิกถือว่าท่านเป็นพระสันตะปาปาองค์แรก ท่านถูกจับตรึงกางเขน และได้ขอร้องให้หันศีรษะท่านลง เพราะคิดว่าไม่สมควรที่จะตายในลักษณะเดียวกับพระเยซูผู้เป็นพระอาจาร.

การตรึงนักบุญเปโตรบนกางเขน (การาวัจโจ)และซีโมนเปโตร · ซีโมนเปโตรและมาซัชโช · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิตาลี

อิตาลี (Italy; Italia อิตาเลีย) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐอิตาลี (Italian Republic; Repubblica italiana) เป็นประเทศในทวีปยุโรป บริเวณยุโรปใต้ ตั้งอยู่ในคาบสมุทรอิตาลีที่มีรูปทรงคล้ายรองเท้าบูต และมีเกาะ 2 เกาะใหญ่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน คือ เกาะซิซิลีและเกาะซาร์ดิเนีย และพรมแดนตอนเหนือแบ่งประเทศโดยเทือกเขาแอลป์ กับประเทศฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย และสโลวีเนีย ประเทศอิตาลีเป็นประเทศสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป เป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ นาโต และกลุ่มจี 8 มีประเทศอิสระ 2 ประเทศ คือ ซานมารีโนและนครรัฐวาติกัน เป็นดินแดนที่ล้อมรอบไปด้วยพื้นที่ของอิตาลี ในขณะที่เมืองกัมปีโอเนดีตาเลีย เป็นดินแดนส่วนแยกของอิตาลีที่ถูกล้อมรอบด้วยพื้นที่ประเทศสวิตเซอร์แลน.

การตรึงนักบุญเปโตรบนกางเขน (การาวัจโจ)และประเทศอิตาลี · ประเทศอิตาลีและมาซัชโช · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง การตรึงนักบุญเปโตรบนกางเขน (การาวัจโจ)และมาซัชโช

การตรึงนักบุญเปโตรบนกางเขน (การาวัจโจ) มี 20 ความสัมพันธ์ขณะที่ มาซัชโช มี 20 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 7.50% = 3 / (20 + 20)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การตรึงนักบุญเปโตรบนกางเขน (การาวัจโจ)และมาซัชโช หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »