โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การฉ้อฉลแบบพอนซีและภาวะเศรษฐกิจฟองสบู่

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง การฉ้อฉลแบบพอนซีและภาวะเศรษฐกิจฟองสบู่

การฉ้อฉลแบบพอนซี vs. ภาวะเศรษฐกิจฟองสบู่

ปี 2463 ของนายชาลส์ พอนซี่ ที่ชื่อกลายเป็นชื่อวิธีการฉ้อฉล ในช่วงที่ยังทำงานเป็นนักธุรกิจในสำนักงานของตนในเมืองบอสตัน กลเม็ดพอนซี หรือ ธุรกิจพอนซี หรือ การฉ้อฉลแบบพอนซี (Ponzi scheme) เป็นปฏิบัติการลงทุนแบบฉ้อฉลที่ผู้ดำเนินการ ไม่ว่าจะเป็นบุคคลหรือเป็นองค์กร จ่ายผลกำไรให้แก่นักลงทุนโดยใช้เงินลงทุนใหม่จากนักลงทุนใหม่ แทนที่จะใช้ผลกำไรที่ผู้ดำเนินการลงทุนหาได้ ผู้ดำเนินการวิธีนี้มักจะโน้มน้าวชักชวนผู้ลงทุนใหม่ โดยให้ผลกำไรที่สูงกว่าการลงทุนประเภทอื่น ๆ ในรูปแบบที่ได้ผลเร็ว ไม่ว่าจะเป็นผลตอบแทนที่สูงหรืออย่างสม่ำเสมอโดยไม่น่าเชื่อ ธุรกิจพอนซีบางครั้งจะเริ่มตั้งตัวเป็นธุรกิจที่สมควรตามเหตุผล จนกระทั่งประสบความล้มเหลวที่จะได้ผลตอบแทนตามที่คาดหวัง แล้วธุรกิจก็จะกลายเป็นการฉ้อฉลแบบพอนซีถ้ายังดำเนินการต่อไปโดยแสดงผลตอบแทนที่ทำไม่ได้จริง ๆ ไม่ว่าสถานการณ์ตอนแรกจะเป็นอย่างไร การแสดงผลตอบแทนระดับสูงบังคับให้ต้องมีเงินลงทุนเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จากนักลงทุนใหม่ ๆ เพื่อจะดำรงธุรกิจ การฉ้อฉลเป็นแบบธุรกิจที่มีชื่อตามนายชาลส์ พอนซี่ ที่กลายเป็นผู้มีชื่อเสียงอื้อฉาวหลังจากที่ได้ใช้เทคนิคนี้ในปี.. วะเศรษฐกิจฟองสบู่ (economic bubble) คือภาวะที่ราคาของสินทรัพย์ เช่นอสังหาริมทรัพย์หรือหน่วยลงทุนต่าง ๆ เพิ่มขึ้นสูงเกินกว่าราคาตามความเป็นจริง จนเกิดอุปสงค์เทียมจากการเก็งกำไรที่ทำให้ราคาเพิ่มสูงขึ้นไปเรื่อย ๆ เป็นวงจร และขยายตัวเหมือนฟองสบู่ โดยส่วนใหญ่ภาวะฟองสบู่นี้จะจบลงเมื่อเกิดเหตุที่ทำให้นักลงทุนเลิกคาดหวังว่าราคาจะเพิ่มขึ้นอีก หรือรัฐบาลออกนโยบายเพื่อดึงราคาลงสู่ภาวะปกติ (เช่นการขึ้นอัตราดอกเบี้ย) จึงทำให้การเก็งกำไรและราคาที่สูงกว่าความเป็นจริงลดลง ราคาสินทรัพย์ในภาวะฟองสบู่ตั้งอยู่บนสมมติฐานว่าราคาจะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ดังนั้น เมื่อราคาเริ่มลดลงภาวะฟองสบู่ก็จะหดตัวลงอย่างรวดเร็ว จนทำให้เกิดภาวะฟองสบู่แตก ซึ่งมักจะทำให้เกิดปัญหาหนี้เสียเกิดขึ้นตามม.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การฉ้อฉลแบบพอนซีและภาวะเศรษฐกิจฟองสบู่

การฉ้อฉลแบบพอนซีและภาวะเศรษฐกิจฟองสบู่ มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ความคลั่งทิวลิป

ความคลั่งทิวลิป

ฟลริน ขึ้นอยู่กับขนาด ขณะที่ค่าแรงงานของช่างฝีมือในขณะนั้นตกประมาณ 300 โฟลรินต่อปีNusteling, H. (1985) Welvaart en Werkgelegenheid in Amsterdam 1540-1860, p. 114, 252, 254, 258. คลั่งทิวลิป (Tulip mania, Tulipomania; Tulpenmanie, Tulpomanie, Tulpenwoede, Tulpengekte, Bollengekte) เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นระหว่างยุคทองของเนเธอร์แลนด์ เมื่อเกิดการตั้งราคาสัญญาการค้าขายหัวทิวลิปสายพันธุ์ใหม่กันอย่างสูงผิดปกติจนถึงจุดสูงสุดก่อนที่ราคาจะตกฮวบลงมาอย่างฉับพลัน"Tulipomania: The Story of the World's Most Coveted Flower & the Extraordinary Passions It Aroused." Mike Dash (2001).

การฉ้อฉลแบบพอนซีและความคลั่งทิวลิป · ความคลั่งทิวลิปและภาวะเศรษฐกิจฟองสบู่ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง การฉ้อฉลแบบพอนซีและภาวะเศรษฐกิจฟองสบู่

การฉ้อฉลแบบพอนซี มี 21 ความสัมพันธ์ขณะที่ ภาวะเศรษฐกิจฟองสบู่ มี 1 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 4.55% = 1 / (21 + 1)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การฉ้อฉลแบบพอนซีและภาวะเศรษฐกิจฟองสบู่ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »