การจำยอมสละและสงครามอิตาลี-อะบิสซิเนียครั้งที่สอง
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง การจำยอมสละและสงครามอิตาลี-อะบิสซิเนียครั้งที่สอง
การจำยอมสละ vs. สงครามอิตาลี-อะบิสซิเนียครั้งที่สอง
นายกรัฐมนตรีอังกฤษ เนวิล เชมเบอร์ลิน กับอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ในการพบปะที่บัดก็อทเอสแบร์ก (Bad Godesberg) ในเยอรมนี เมื่อ 24 กันยายน ค.ศ. 1938 ซึ่งฮิตเลอร์ต้องการผนวกดินแดนบริเวณเขตชายแดนของเช็กเกียโดยเร็ว การจำยอมสละ (Appeasement) เป็นนโยบายทางการทูตที่มุ่งหลีกเลี่ยงสงครามโดยการยอมให้แก่ประเทศก้าวร้าว นักประวัติศาสตร์ พอล เคนเนดี นิยามว่าเป็น "นโยบายระงับการวิวาทระหว่างประเทศโดยการยอมรับและสนองความเดือดร้อนผ่านการเจรจาและการประนีประนอมอย่างมีเหตุผล ฉะนั้นจึงหลีกเลี่ยงการหันไปถึ่งการขัดกันด้วยอาวุธซึ่งจะมีราคาแพง นองเลือดและอาจอันตราย" ประเทศประชาธิปไตยยุโรป ซึ่งปรารถนาจะหลีกเลี่ยงสงครามกับเผด็จการเยอรมนีและอิตาลี ในคริสต์ทศวรรษ 1930 ใช้การจำยอมสละ ด้วยนึกถึงความน่าสะพรึงของสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง คำนี้มักใช้กับนโยบายต่างประเทศของนายกรัฐมนตรีเนวิล เชมเบอร์ลิน ต่อนาซีเยอรมนีระหว่าง.. งครามอิตาลี-อะบิสซิเนียครั้งที่สอง หรืออีกชื่อหนึ่งคือ สงครามอิตาลี-เอธิโอเปียครั้งที่สอง เป็นสงครามอาณานิคมซึ่งเกิดขึ้นระหว่างกองทัพราชอาณาจักรอิตาลีกับจักรวรรดิเอธิโอเปีย (หรือในอีกชื่อหนึ่งคือ "อะบิสซิเนีย") โดยเริ่มต้นในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1935 และสิ้นสุดลงในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1936 ผลของสงครามจบลงด้วยความพ่ายแพ้ของเอธิโอเปียและถูกอิตาลีผนวกเข้าเป็นดินแดนอาณานิคมแห่งใหม่ภายใต้ชื่อ "แอฟริกาตะวันออกของอิตาลี" (Italian East Africa, Africa Orientale Italiana) ในทางการเมือง สงครามครั้งนี้เป็นเครื่องหมายจดจำที่โดดเด่นที่สุดถึงความอ่อนแออันเป็นปกติวิสัยขององค์การสันนิบาตชาติ วิกฤตการณ์อะบิสซิเนียในปี ค.ศ. 1934 มักถูกมองว่าเป็นตัวอย่างที่ชัดเจนถึงความไร้ประสิทธิภาพของสันนิบาตชาติ เช่นเดียวการที่จักรวรรดิญี่ปุ่นยึดครอง 3 มณฑลของจีนในกรณีมุกเดนเมื่อปี ค.ศ. 1931 ทั้งอิตาลีและเอธิโอเปียล้วนเป็นชาติสมาชิกของสันนิบาต แต่สันนิบาตชาติก็ไม่สามารถปกป้องเอธิโอเปียให้พ้นจากการคุกคามของอิตาลีได้เมื่อการณ์ปรากฏชัดเจนว่าอิตาลีได้ละเมิดต่อบทบัญญัติของสันนิบาตชาติมาตรา 10 อนึ่ง สงครามครั้งนี้ยังถูกจดจำด้วยการใช้ก๊าซพิษทำสงครามอย่างผิดกฎหมายอย่างก๊าซมัสตาร์ด (mustard gas) และสารฟอสจีน (Phosgene) โดยฝ่ายกองทัพอิตาลี ผลลัพธ์ในเชิงบวกของสงครามต่อฝ่ายอิตาลีได้เกิดขึ้นในช่วงเวลาใกล้เคียงกับความนิยมระดับสูงสุดต่อลัทธิฟาสซิสต์ของมุสโสลินีในเวทีนานาชาติ ผู้นำในหลายประเทศได้ยกย่องความสำเร้จที่เกิดขึ้นในครั้งนี้.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การจำยอมสละและสงครามอิตาลี-อะบิสซิเนียครั้งที่สอง
การจำยอมสละและสงครามอิตาลี-อะบิสซิเนียครั้งที่สอง มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ การจำยอมสละและสงครามอิตาลี-อะบิสซิเนียครั้งที่สอง มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง การจำยอมสละและสงครามอิตาลี-อะบิสซิเนียครั้งที่สอง
การเปรียบเทียบระหว่าง การจำยอมสละและสงครามอิตาลี-อะบิสซิเนียครั้งที่สอง
การจำยอมสละ มี 4 ความสัมพันธ์ขณะที่ สงครามอิตาลี-อะบิสซิเนียครั้งที่สอง มี 47 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 1.96% = 1 / (4 + 47)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การจำยอมสละและสงครามอิตาลี-อะบิสซิเนียครั้งที่สอง หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: