โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การจัดการตนเองและอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง การจัดการตนเองและอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง

การจัดการตนเอง vs. อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง

การจัดการตนเอง (Self-organization) เป็นกระบวนการที่ก่อให้เกิด โครงสร้าง (structure) หรือที่เรียกว่า กระบวนการสร้างให้เกิดรูปร่าง หรือ แพตเทิร์น (pattern formation)โดยที่ไม่ต้องพึ่งการควบคุมจากส่วนกลาง หรือ ผ่านการวางแผนจากองค์ประกอบใดๆ จากภายนอก ด้วยวิธีการนี้ ในระบบหนึ่งๆ ที่มีองค์ประกอบย่อยในระดับท้องถิ่น ที่ได้มีการปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน จนทำให้เกิดเป็น โครงสร้าง หรือ แพตเทิร์น ที่มีขนาดใหญ่ จนกลายเป็น ระบบที่มีขนาดใหญ่ระดับ Global ดังนั้น องค์กรใดๆ หรือ การจัดการใดๆ จึงถูกจัดการในทิศทางรูปแบบ "ขนาน" (parallel) ที่ทุกๆองค์ประกอบย่อยต่างปฏิบัติ หรือ ดำเนินการ พร้อมๆกัน ในรูปแบบ "กระจาย" (distributed) ที่ไม่มีการพึ่งพาหรือ ถูกควบคุมจากส่วนกลางแต่อย่างใด ตัวอย่างหนึ่งที่สามารถนำมายกตัวอย่างให้เห็นถึงระบบการจัดการตนเองได้อย่างเห็นได้ชัดเจน คือ ระบบการจัดการตนเองในขอบเขตของ กระบวนการที่ไม่สมดุลในฟิสิกส์ ระบบการจัดการตนเอง ยังคงเกี่ยวข้องในศาสตร์ของ เคมี ในหัวข้อของ self-assembly แนวคิดของระบบการจัดการตนเองยังคงเป็นศูนย์กลางที่ใช้ในการอธิบายกระบวนการต่างๆในระบบชีววิทยา โดยสามารถอธิบายได้ตั้งแต่ การทำงานของเซลส์เล็กๆจนถึงระบบขนาดใหญ่ รวมทั้งยังมีการอ้างถึง พฤติกรรมของระบบการจัดการตนเอง ที่สามารถค้นพบได้ในงานวิจัยอื่นๆ ที่อาจจะเขียนในกฎการทำงานที่แตกต่างหลากหลาย แต่ทั้ง ธรรมชาติ และ สังคม เช่น เศรษฐศาสตร์ หรือ มนุษย์วิทยา ระบบการจัดการตนเองในสาขาคณิตศาสตร์ ที่เห็นได้ชัดเจนคือ Cellular automata. อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (Internet of Things) หรือ ไอโอที (IoT) หมายถึงเครือข่ายของวัตถุ อุปกรณ์ พาหนะ สิ่งปลูกสร้าง และสิ่งของอื่นๆ ที่มีวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ซอฟต์แวร์ เซ็นเซอร์ และการเชื่อมต่อกับเครือข่าย ฝังตัวอยู่ และทำให้วัตถุเหล่านั้นสามารถเก็บบันทึกและแลกเปลี่ยนข้อมูลได้ อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งทำให้วัตถุสามารถรับรู้สภาพแวดล้อมและถูกควบคุมได้จากระยะไกลผ่านโครงสร้างพื้นฐานเครือข่ายที่มีอยู่แล้ว ทำให้เราสามารถผสานโลกกายภาพกับระบบคอมพิวเตอร์ได้แนบแน่นมากขึ้น ผลที่ตามมาคือประสิทธิภาพ ความแม่นยำ และประโยชน์ทางเศรษฐกิจที่เพิ่มมากขึ้น เมื่อ IoT ถูกเสริมด้วยเซ็นเซอร์และแอคชูเอเตอร์ซึ่งสามารถเปลี่ยนลักษณะทางกลได้ตามการกระตุ้น ก็จะกลายเป็นระบบที่ถูกจัดประเภทโดยทั่วไปว่าระบบไซเบอร์-กายภาพ (cyber-physical system) ซึ่งรวมถึงเทคโนโลยีอย่าง กริดไฟฟ้าอัจริยะ (สมาร์ตกริด) บ้านอัจฉริยะ (สมาร์ตโฮม) ระบบขนส่งอัจฉริยะ (อินเทลลิเจนต์ทรานสปอร์ต) และเมืองอัจฉริยะ (สมาร์ตซิตี้) วัตถุแต่ละชิ้นสามารถถูกระบุได้โดยไม่ซ้ำกันผ่านระบบคอมพิวเตอร์ฝังตัว และสามารถทำงานร่วมกันได้บนโครงสร้างพื้นฐานอินเทอร์เน็ตที่มีอยู่แล้วในปัจจุบัน ผู้เชี่ยวชาญประเมินว่าเครือข่ายของสรรพสิ่งจะมีวัตถุเกือบ 50,000 ล้านชิ้นภายในปี 2020 มูลค่าตลาดคาดการณ์ไว้ที่ 80 พันล้านเหรียญ "สรรพสิ่ง" ในความหมายของ IoT สามารถหมายถึงอุปกรณ์ที่แตกต่างหลากหลาย เช่น อุปกรณ์วัดอัตราหัวใจแบบฝังในร่างกาย แท็กไบโอชิปที่ติดกับปศุสัตว์ ยานยนต์ที่มีเซ็นเซอร์ในตัว อุปกรณ์วิเคราะห์ดีเอ็นเอในสิ่งแวดล้อมหรืออาหาร หรืออุปกรณ์ภาคสนามที่ช่วยในการทำงานของนักผจญเพลิงในภารกิจค้นหาและช่วยเหลือI.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การจัดการตนเองและอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง

การจัดการตนเองและอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง การจัดการตนเองและอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง

การจัดการตนเอง มี 0 ความสัมพันธ์ขณะที่ อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง มี 8 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (0 + 8)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การจัดการตนเองและอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »