การคาดหมายคงชีพและการเกิด
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง การคาดหมายคงชีพและการเกิด
การคาดหมายคงชีพ vs. การเกิด
การคาดหมายคงชีพ (life expectancy) เป็นค่าเฉลี่ยทางสถิติจำนวนปีที่มนุษย์คนหนึ่งมีชีวิต โดยสันนิษฐานภาวะการตายระหว่างช่วงเวลาที่กำหนด ค่านี้แปรผันตามภูมิภาคและยุคสมัย ในยุคสำริดและยุคเหล็ก การคาดหมายคงชีพ คือ 26 ปี แต่ค่าเฉลี่ยของโลกใน.. การเกิด หรือการคลอด (parturition) เป็นการหรือกระบวนการมีหรือออกลูก ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม กระบวนการนี้เริ่มโดยฮอร์โมนซึ่งทำให้ผนังกล้ามเนื้อมดลูกหดและขับลูกในท้อง (fetus) ที่ระยะการเจริญเมื่อพร้อมที่จะกินอาหารและหายใจ ในบางสปีชีส์ลูกเจริญก่อนวัยและสามารถเคลื่อนไหวแทบทันทีหลังเกิดแต่ในบางสปีชีส์ลูกช่วยเหลือตัวเองไม่ได้และต้องพึ่งพาพ่อแม่ทั้งหมด ในสัตว์มีกระเป๋าหน้าท้อง (marsupial) ลูกในท้องเกิดที่ระยะที่ยังไม่เจริญมากหลังมีอายุครรภ์สั้น ๆ และเจริญต่อในกระเป๋าของแม่ ไม่เฉพาะสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเท่านั้นที่เกิดลูก สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก ปลาและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังก็มีตัวอ่อนที่กำลังเจริญอยู่ในตัวเช่นกัน บางชนิดฟักไข่ในตัว (ovoviviparous) บางชนิดตกลูกเป็นตัว (viviparous) โดยมีตัวอ่อน (embryo) เจริญอยู่ในร่างกายแม่ เช่น สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม หมวดหมู่:ชีววิทยา.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การคาดหมายคงชีพและการเกิด
การคาดหมายคงชีพและการเกิด มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ การคาดหมายคงชีพและการเกิด มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง การคาดหมายคงชีพและการเกิด
การเปรียบเทียบระหว่าง การคาดหมายคงชีพและการเกิด
การคาดหมายคงชีพ มี 3 ความสัมพันธ์ขณะที่ การเกิด มี 7 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (3 + 7)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การคาดหมายคงชีพและการเกิด หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: