การข่มข้ามคู่และไทยหลังอาน
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง การข่มข้ามคู่และไทยหลังอาน
การข่มข้ามคู่ vs. ไทยหลังอาน
การข่มข้ามคู่ (epistasis) ในทางพันธุศาสตร์หมายถึงปรากฎการณ์ที่การที่การแสดงออกของยีนยีนหนึ่งต้องขึ้นอยู่กับการมีอยู่ของยีนปรับแต่ง (modifier gene) หนึ่งอันหรือมากกว่า การกลายพันธุ์ที่มีลักษณะข่มข้ามคู่จะส่งผลต่อลักษณะปรากฎเป็นลักษณะที่ผ่านการผสมผสานกันมาจากยีนหลายๆ ยีน แทนที่จะเป็นมาจากยีนใดยีนหนึ่ง เกิดจากการมีปฏิสัมพันธ์ของยีน อาจเป็นระหว่างยีนคนละยีนหรือภายในยีนเดียวกันทำให้เกิดผลที่ไม่เสริมกัน (non-additive) หมวดหมู่:พันธุศาสตร์คลาสสิก. นัขหลังอาน (ไทยหลังอาน) (Thai Ridgeback) เป็นสุนัขพันธุ์พื้นเมืองเก่าแก่ของประเทศไทย มีขนาดกลาง ขนสั้น หูตั้งเป็นรูปสามเหลี่ยม ปลายจมูกสีดำและปากรูปลิ่ม หางเรียวยาวเป็นรูปดาบ ลักษณะเด่นคือมีอานซึ่งเกิดจากขนขึ้นในแนวย้อนกับแนวขนปกติอยู่บนหลัง ถิ่นกำเนิดของสุนัขพันธุ์ไทยหลังอานอยู่ในภาคตะวันออก แถบจังหวัดจันทบุรีและตราด คนพื้นเมืองใช้สุนัขพันธุ์นี้ล่าสัตว์และติดตามเกวียนเพื่อคอยระวังภัย ระบบการคมนาคมที่ยังไม่ดีในสมัยก่อนทำให้ไทยหลังอานสามารถคงลักษณะดั้งเดิมอยู่ได้นาน มาตรฐานสายพันธุ์และสีของไทยหลังอาน ปัจจุบันได้รับการยอมรับในวงการประกวดสุนัขอยู่ 4 สี คือ.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การข่มข้ามคู่และไทยหลังอาน
การข่มข้ามคู่และไทยหลังอาน มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ การข่มข้ามคู่และไทยหลังอาน มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง การข่มข้ามคู่และไทยหลังอาน
การเปรียบเทียบระหว่าง การข่มข้ามคู่และไทยหลังอาน
การข่มข้ามคู่ มี 1 ความสัมพันธ์ขณะที่ ไทยหลังอาน มี 15 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (1 + 15)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การข่มข้ามคู่และไทยหลังอาน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: