ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การขอประชามติโดยบังคับและประชาธิปไตยโดยตรง
การขอประชามติโดยบังคับและประชาธิปไตยโดยตรง มี 6 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): การออกเสียงประชามติการขอประชามติโดยเลือกสภานิติบัญญัติอำนาจบริหารประเทศสวิตเซอร์แลนด์เทศบาล
การออกเสียงประชามติ
การออกเสียงประชามติ (referendum) คือ การนำร่างกฎหมาย ร่างรัฐธรรมนูญ และนโยบายที่สำคัญของประเทศ ไปผ่านการตัดสินเพื่อแสดงความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบโดยประชาชนผู้เป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย นับเป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจต่อแนวทางการปกครองประเทศ และถือเป็นประชาธิปไตยทางตรงแบบหนึ่งซึ่งประชาชนมีส่วนมีเสียงโดยตรงในการบริหารราชการแผ่นดิน.
การขอประชามติโดยบังคับและการออกเสียงประชามติ · การออกเสียงประชามติและประชาธิปไตยโดยตรง ·
การขอประชามติโดยเลือก
ัตรลงคะแนนกระดาษวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 เพื่อการไม่เช็คหนังสือเดินทางสำหรับประเทศบัลแกเรียและโรมาเนีย โดยเป็นส่วนของความตกลงเชงเกน การขอประชามติโดยเลือก หรือ การลงประชามติโดยเลือก (optional referendum, fakultatives Referendum, référendum facultatif, referendum facoltativo, referendum facultativ) เป็นกลไกทางประชาธิปไตยโดยตรงในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ที่ให้ประชาชนสามารถค้านกฎหมายที่ผ่านโดยรัฐสภาของสหพันธรัฐ (Federal Assembly) หรือกฤษฎีกาของทั้งฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหารในระดับรัฐหรือเทศบาล ในระดับสหพันธรัฐ จะมีการจัดให้ลงคะแนนเสียงสำหรับกฎหมายทุกฉบับ ที่ได้รวบรวมลายเซ็น 50,000 รายของผู้คัดค้านโดยทำภายใน 100 วันหลังจากประกาศโดยรัฐสภา นี่ต่างจากการขอประชามติโดยบังคับเพราะต้องรวบรวมลายเซ็น อนึ่ง การขอประชามติสำหรับกฎหมายระดับสหพันธรัฐก็ยังสามารถเสนอทำได้โดยรัฐอย่างน้อย 8 รัฐ (cantonal referendum) ซึ่งต่างจากการขอประชามติโดยเลือกและการขอประชามติโดยบังคับในระดับรัฐเอง.
การขอประชามติโดยบังคับและการขอประชามติโดยเลือก · การขอประชามติโดยเลือกและประชาธิปไตยโดยตรง ·
สภานิติบัญญัติ
นิติบัญญัติเป็นสภาปรึกษาหารือชนิดหนึ่งซึ่งมีอำนาจผ่าน แก้ไขเพิ่มเติมและยกเลิกกฎหมาย กฎหมายที่เกิดจากสภานิติบัญญัติเรียก กฎหมายลายลักษณ์อักษร นอกเหนือไปจากการตรากฎหมายแล้ว สภานิติบัญญัติยังมีอำนาจสิทธิ์ขาดในการเพิ่มหรือลดภาษีและมีมติเห็นชอบงบประมาณและร่างกฎหมายเกี่ยวด้วยการเงินอื่น สภานิติบัญญัติมีหลายชื่อ ที่พบมากที่สุด คือ รัฐสภาและคองเกรส (congress) โดยสองคำนี้มีความหมายจำเพาะกว่า ในการปกครองระบบรัฐสภา ฝ่ายบริหารรับผิดชอบต่อสภานิติบัญญัติซึ่งอาจถอดถอนฝ่ายบริหารได้ด้วยการอภิปรายไม่ไว้วางใจ ในระบบประธานาธิบดี ตามลัทธิการแยกใช้อำนาจ สภานิติบัญญัติถูกมองว่าเป็นอิสระและเป็นการปกครองแขนงหนึ่งซึ่งเสมอกับฝ่ายตุลาการและฝ่ายบริหาร องค์ประกอบหลักของสภานิติบัญญัติ คือ มีตั้งแต่หนึ่งสภา (chamber/house) เป็นต้นไป สภา คือ การประชุมซึ่งสามารถอภิปรายและลงมติในร่างกฎหมายได้ สภานิติบัญญัติซึ่งมีสภาเดียว เรียก สภาเดียว ส่วนสภานิติบัญญัติที่มีสองสภา เรียก ระบบสองสภา ซึ่งปกติอธิบายเป็นสภาสูงและสภาล่าง โดยมักมีหน้าที่อำนาจและวิธีการเลือกสมาชิกต่างกัน นอกจากนี้ ยังมีสภานิติบัญญัติที่มีมากกว่าสองสภา แต่ไม่ค่อยพบ ในระบบรัฐสภาส่วนมาก สภาล่างเป็นสภาที่มีอำนาจกว่า ขณะที่สภาสูงเป็นเพียงสภาให้คำปรึกษาหรือทบทวน อย่างไรก็ดี ในระบบประธานาธิบดี อำนาจของสองสภามักคล้ายหรือเท่ากัน ในสหพันธรัฐ สภาสูงมักเป็นตัวแทนของรัฐที่มารวมกัน (component state) ซึ่งรวมถึงสภานิติบัญญัติเหนือชาติของสหภาพยุโรปด้วย ด้วยจุดประสงค์นี้ สภาสูงอาจมีผู้แทนจากรัฐบาลของรัฐ ดังเช่นในกรณีสหภาพยุโรปและเยอรมนี หรือมาจากการเลือกตั้งตามสูตรซึ่งให้การมีผู้แทนเท่าเทียมกันแก่รัฐซึ่งมีประชากรน้อยกว่า เช่นในกรณีออสเตรเลียและสหรัฐอเมริกาปัจจุบัน.
การขอประชามติโดยบังคับและสภานิติบัญญัติ · ประชาธิปไตยโดยตรงและสภานิติบัญญัติ ·
อำนาจบริหาร
อำนาจบริหาร (Executive) เป็นการปกครองส่วนที่มีอำนาจและความรับผิดชอบเฉพาะการบริหารประเทศประจำวัน ระบบการแยกใช้อำนาจออกแบบมาเพื่อกระจายอำนาจในบรรดาหลายฝ่าย เป็นความพยายามที่จะรักษาเสรีภาพปัจเจกบุคคลเพื่อเป็นการสนองตอบผู้นำทรราชตลอดประวัติศาสตร์ บทบาทของฝ่ายบริหาร คือ บังคับใช้กฎหมายตามที่สภานิติบัญญัติบัญญัติขึ้นและระบบตุลาการตีความ ฝ่ายบริหารสามารถเป็นบ่อเกิดของกฎหมายบางประเภทได้ เช่น กฤษฎีกาหรือคำสั่งของฝ่ายบริหาร ระบบข้าราชการประจำบริหารมักเป็นที่มาของระเบี.
การขอประชามติโดยบังคับและอำนาจบริหาร · ประชาธิปไตยโดยตรงและอำนาจบริหาร ·
ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
วิตเซอร์แลนด์ (Switzerland; die Schweiz; la Suisse; Svizzera; Svizra) มีชื่อทางการว่า สมาพันธรัฐสวิส (Swiss Confederation; Confoederatio Helvetica) เป็นประเทศขนาดเล็กที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล และตั้งอยู่ในทวีปยุโรปตะวันตก โดยมีพรมแดนติดกับ ประเทศเยอรมนี ประเทศฝรั่งเศส ประเทศอิตาลี ประเทศออสเตรีย และประเทศลิกเตนสไตน์ นอกจากจะมีความเป็นกลางทางการเมืองแล้ว สวิตเซอร์แลนด์นับว่ามีการร่วมมือกันระหว่างประเทศเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นที่ตั้งขององค์กรนานาชาติหลายแห่ง นอกจากนี้ลักษณะของประเทศยังคล้ายกับประเทศเบลเยียม.
การขอประชามติโดยบังคับและประเทศสวิตเซอร์แลนด์ · ประชาธิปไตยโดยตรงและประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ·
เทศบาล
ำนักงานเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี เทศบาล เป็นรูปแบบการปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบหนึ่งที่ใช้ในประเทศไทยปัจจุบัน การปกครองรูปแบบเทศบาลเป็นการกระจายอำนาจให้แก่ท้องถิ่นดำเนินการปกครองตนเองตามระบอบประชาธิปไตย เกิดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเริ่มจากการจัดตั้งสุขาภิบาลกรุงเทพฯ ร..116 (พ.ศ. 2440) โดยมีพระราชกำหนดสุขาภิบาลกรุงเทพฯ ร.ศ. 116 ในส่วนภูมิภาค มีการตราพระราชบัญญัติจัดการสุขาภิบาลท่าฉลอม ร.ศ. 124 (พ.ศ. 2448) ขึ้นมีวิวัฒนาการเรื่อยมา จนถึงปี พ.ศ. 2475 ได้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ได้มีการกระจายอำนาจการปกครองที่สมบูรณ์แบบยิ่งขึ้น โดยมีการจัดตั้งเทศบาลขึ้นในปี พ.ศ. 2476 โดยมีการตราพระราชบัญญัติจัดระเบียบเทศบาล..
การขอประชามติโดยบังคับและเทศบาล · ประชาธิปไตยโดยตรงและเทศบาล ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ การขอประชามติโดยบังคับและประชาธิปไตยโดยตรง มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง การขอประชามติโดยบังคับและประชาธิปไตยโดยตรง
การเปรียบเทียบระหว่าง การขอประชามติโดยบังคับและประชาธิปไตยโดยตรง
การขอประชามติโดยบังคับ มี 13 ความสัมพันธ์ขณะที่ ประชาธิปไตยโดยตรง มี 119 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 6, ดัชนี Jaccard คือ 4.55% = 6 / (13 + 119)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การขอประชามติโดยบังคับและประชาธิปไตยโดยตรง หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: