โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การกล่าวใส่ร้ายการสังเวยด้วยเลือดของชาวยิวและภัยพิบัติแห่งอียิปต์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง การกล่าวใส่ร้ายการสังเวยด้วยเลือดของชาวยิวและภัยพิบัติแห่งอียิปต์

การกล่าวใส่ร้ายการสังเวยด้วยเลือดของชาวยิว vs. ภัยพิบัติแห่งอียิปต์

แสดงการสังเวยด้วยเลือดของไซมอนแห่งเทร้นท์อายุสองขวบที่หายตัวไป พ่อของเด็กกล่าวหาว่าถูกลักตัวไปโดยชาวยิว ซึ่งเป็นผลให้ชาวยิวสิบห้าคนถูกตัดสินให้เผาทั้งเป็น ไซมอนได้รับการสถาปนาให้เป็นนักบุญในปี ค.ศ. 1588 แต่มาถูกปลดในปี ค.ศ. 1965 การกล่าวใส่ร้ายการสังเวยด้วยเลือดของชาวยิว (Blood libel against Jews) เป็นข้อกล่าวหาที่ไม่ถูกต้องที่กล่าวหาว่าชาวยิวใช้เลือดมนุษย์ในพิธีกรรมทางศาสนา การกล่าวหากรณีนี้เกิดขึ้นครั้งแรกในบทเขียนของนักเขียนเพกันชาวกรีก-อียิปต์เอเพียน (Apion) ของต้นคริสต์ศตวรรษที่ 1 ผู้อ้างว่าชาวยิวสังเวยชาวกรีกในศาสนสถาน หลังจากนั้นก็ไม่มีเหตุการณ์ทำนองเดียวกันที่ได้รับการบันทึกมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 12 เมื่อข้อกล่าวหานี้เริ่มเป็นที่เผยแพร่ในหมู่ชนคริสเตียนในยุโรป การกล่าวเรื่องการสังเวยด้วยเลือดมักจะกล่าวว่าชาวยิวใช้เลือดเด็กคริสเตียน ที่มักจะใช้กล่าวหาเมื่อมีเด็กที่เสียชีวิตโดยไม่ทราบสาเหตุ ในบางกรณีผูที่เป็นเหยื่อของการกล่าวหาไม่ว่าจะเป็นเด็กหรือผู้ใหญ่ก็กลายเป็นผู้พลีชีพเพื่อศาสนาและเป็นที่นับถือของลัทธินิยมที่ตามมา และบางคนถึงกับได้รับการสถาปนาให้เป็นนักบุญ ข้อกล่าวหานี้ก็ยังคงมีอยู่ในกลุ่มคริสเตียนบางกลุ่มแม้ในปัจจุบันนี้ และเมื่อไม่นานมานี้ก็ในกลุ่มมุสลิมบางกลุ่ม ในตำนานของชาวยิวการกล่าวหานี้เป็นแรงกระตุ้นให้เกิดตำนานเกี่ยวกับโกเลมแห่งปรากโดยราไบจูดาห์ โลว์ เบน เบซาลเอล พระสันตะปาปาหลายองค์ก็กล่าวประณามการสังเวยด้วยเลือดไม่ว่าจะโดยตรงหรือโดยทางอ้อม แต่ก็ไม่มีพระสันตะปาปาองค์ใดที่ประกาศอย่างเป็นทางการ. มื่อพระเจ้าทรงใช้โมเสสและอาโรนให้เข้าเฝ้าฟาโรห์เพื่อทูลขอให้ทรงปล่อยวงศ์วานอิสราเอลเป็นไทนั้น โมเสสและอาโรนต้องเข้าไปทูลขอถึง 10 ครั้ง กว่าที่องค์ฟาโรห์จะยอมปล่อยชนชาติอิสราเอลให้ออกจากอียิปต์ได้ ในแต่ละครั้งที่ฟาโรห์ทรงละเลยต่อคำขอของโมเสสและอาโรนนั้น พระเจ้าก็ทรงมอบภัยพิบัติต่าง ๆ ให้แก่อียิปต์ทุกครั้ง จนกระทั่งองค์ฟาโรห์ทรงพบกับภัยพิบัติครั้งสุดท้ายด้วยพระองค์เอง จึงยอมปล่อยให้อิสราเอลออกเดินทางจากอียิปต์ได้ โดยในการขอให้ฟาโรห์ปล่อยอิสราเอลนั้น โมเสสได้ทูลขอองค์ฟาโรห์ ให้ตนนำอิสราเอลออกไปถวายเครื่องบูชาแด่พระเจ้าในถิ่นทุรกันดาร ภัยพิบัติที่จะกล่าวถึงนี้ อ้างอิงมาจากคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิม หนังสืออพยพ บทที่ 7-13.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การกล่าวใส่ร้ายการสังเวยด้วยเลือดของชาวยิวและภัยพิบัติแห่งอียิปต์

การกล่าวใส่ร้ายการสังเวยด้วยเลือดของชาวยิวและภัยพิบัติแห่งอียิปต์ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง การกล่าวใส่ร้ายการสังเวยด้วยเลือดของชาวยิวและภัยพิบัติแห่งอียิปต์

การกล่าวใส่ร้ายการสังเวยด้วยเลือดของชาวยิว มี 5 ความสัมพันธ์ขณะที่ ภัยพิบัติแห่งอียิปต์ มี 20 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (5 + 20)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การกล่าวใส่ร้ายการสังเวยด้วยเลือดของชาวยิวและภัยพิบัติแห่งอียิปต์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »