เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

การกระตุกหัวใจด้วยไฟฟ้าและเครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง การกระตุกหัวใจด้วยไฟฟ้าและเครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ

การกระตุกหัวใจด้วยไฟฟ้า vs. เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ

ตำแหน่งการวางขั้วไฟฟ้าของเครื่องกระตุ้นหัวใจ แผนภาพวงจรทางไฟฟ้าซึ่งแสดงหลักการทำงานของเครื่องกระตุ้นหัวใจอย่างง่าย ซึ่งประกอบเพียงแค่ ตัวเก็บประจุและตัวเหนี่ยวนำ และสร้างมารถสัญญาณในรูปแบบเอ็ดมาร์ค (Edmark) หรือ เกอร์วิกช์ (Gurvich) ได้ การกระตุกหัวใจด้วยไฟฟ้า (defibrillation) เป็นวิธีการรักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะที่เป็นอันตรายถึงชีวิตชนิดเวนทริคูลาร์ฟิบริลเลชันและเวนทริคูลาร์แทคีคาร์เดียชนิดคลำชีพจรไม่ได้ ทำให้ส่งกระแสไฟฟ้าขนาดที่มีผลต่อการรักษาเข้าไปยังหัวใจด้วยอุปกรณ์ที่เรียกว่าเครื่องกระตุกหัวใจด้วยไฟฟ้า (defibrillator) ซึ่งจะสลายความเป็นขั้วในกล้ามเนื้อหัวใจเกือบทั้งหมด หยุดการเต้นของหัวใจที่ผิดจังหวะนั้นลง และเปิดโอกาสให้จังหวะหัวใจปกติหรือจังหวะเต้นไซนัสกลับมาเต้นเองด้วยตัวควบคุมจังหวะเต้นหัวใจตามธรรมชาติซึ่งอยู่ในหัวใจที่ไซโนเอเทรียลโนด การกระตุกหัวใจด้วยไฟฟ้าอาจทำแบบภายนอก, แบบผ่านหลอดเลือด, หรือผ่านอุปกรณ์ซึ่งฝังไว้ ขึ้นอยู่กับความจำเป็นอื่น. รื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติในสภาพพร้อมใช้งาน เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ (automated external defibrillator, AED) เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์แบบพกพาชนิดหนึ่ง สามารถวินิจฉัยภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะที่เป็นอันตรายถึงชีวิตชนิดเวนทริคูลาร์ฟิบริลเลชัน (ภาวะหัวใจห้องล่างเต้นแผ่วระรัว) และเวนทริคูลาร์แทคีคาร์เดีย (ภาวะหัวใจห้องล่างเต้นเร็วผิดปกติ) ได้โดยอัตโนมัติ และสามารถให้การรักษาด้วยการช็อกไฟฟ้ากระตุกหัวใจได้โดยใช้กระแสไฟฟ้าหยุดรูปแบบการเต้นของหัวใจที่ผิดจังหวะ เพื่อเปิดโอกาสให้หัวใจกลับมาเต้นใหม่ในจังหวะที่ถูกต้อง เครื่อง AED ถูกออกแบบมาให้ใช้ได้โดยคนทั่วไป โดยจะให้คำแนะนำผ่านเสียงพูดและภาพประกอบบนจอ โดยถูกรวมอยู่ในการเรียนการสอนการปฐมพยาบาล การอบรมผู้ปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉิน (firse responder) และการช่วยกู้ชีพ (CPR) ทุกระดับขั้น รวมถึงขั้นพื้นฐาน (basic life support) ด้ว.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง การกระตุกหัวใจด้วยไฟฟ้าและเครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ

การกระตุกหัวใจด้วยไฟฟ้าและเครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ มี 4 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): หัวใจห้องล่างเต้นเร็วหัวใจเต้นผิดจังหวะจังหวะไซนัสเว็นทริคูลาร์ ฟิบริลเลชัน

หัวใจห้องล่างเต้นเร็ว

ภาวะหัวใจห้องล่างเต้นเร็ว (ventricular tachycardia) หรือ V-tach, VT เป็นภาวะหัวใจเต้นเร็วชนิดหนึ่งที่มีจุดกำเนิดจังหวะเต้นหัวใจมาจากหัวใจห้องล่าง เป็นภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะที่อาจมีอันตรายถึงชีวิต อาจพัฒนาไปเป็นเวนทริคูลาร์ฟิบริลเลชัน หัวใจหยุด และอาจทำให้เสียชีวิตทันทีได้ Category:หัวใจเต้นผิดจังหวะ หมวดหมู่:ภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์.

การกระตุกหัวใจด้วยไฟฟ้าและหัวใจห้องล่างเต้นเร็ว · หัวใจห้องล่างเต้นเร็วและเครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ · ดูเพิ่มเติม »

หัวใจเต้นผิดจังหวะ

หัวใจเต้นผิดจังหวะคือภาวะใดๆ ที่เกิดความผิดปกติขึ้นในการนำไฟฟ้าของหัวใจ หัวใจอาจเต้นเร็วหรือช้ากว่าปกติ และมีจังหวะสม่ำเสมอหรือไม่สม่ำเสมอก็ได้ ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะบางชนิดเป็นภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์ซึ่งอาจเป็นอันตรายถึงชีวิต ทำให้เกิดภาวะหัวใจหยุดและเสียชีวิตได้ทันที ชนิดอื่นซึ่งไม่เป็นอันตรายถึงชีวิตนั้นอาจทำให้เกิดความรู้สึกใจสั่น หรือไม่สบายตัวเล็กน้อย ความรู้สึกใจสั่นนี้อาจเกิดจากภาวะหัวใจเต้นแผ่วระรัวไม่ว่าจะเป็นห้องบนหรือห้องล่าง หรือการนำสัญญาณไฟฟ้าหัวใจผิดปกติ หรือภาวะอื่นๆ และบางชนิดอาจไม่มีอาการใดๆ เลย แต่เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนซึ่งอาจเป็นอันตรายถึงชีวิตหรือทำให้เกิดความพิการได้ เช่น โรคหลอดเลือดสมอง หรือเกิดลิ่มเลือดอุดตันหลอดเลือด ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะบางชนิดอาจผิดปกติเพียงเล็กน้อยและมีผลเสียน้อยจนถือเป็นความแตกต่างระหว่างบุคคลที่ไม่ถือเป็นโรค หมวดหมู่:หัวใจเต้นผิดจังหวะ หมวดหมู่:ภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์.

การกระตุกหัวใจด้วยไฟฟ้าและหัวใจเต้นผิดจังหวะ · หัวใจเต้นผิดจังหวะและเครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวะไซนัส

Schematic representation of normal sinus rhythm showing standard waves, segments, and intervals จังหวะไซนัส (sinus rhythm) เป็นรูปแบบการเต้นของหัวใจปกติที่เห็นจากการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใ.

การกระตุกหัวใจด้วยไฟฟ้าและจังหวะไซนัส · จังหวะไซนัสและเครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ · ดูเพิ่มเติม »

เว็นทริคูลาร์ ฟิบริลเลชัน

เว็นทริคูลาร์ ฟิบริลเลชัน (ventricular fibrillation,VF, V-Fib) หรือ หัวใจห้องล่างเต้นแผ่วระรัว เป็นภาวะซึ่งมีการหดตัวของกล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างอย่างไม่สัมพันธ์กัน จึงเหมือนเป็นการเต้นแผ่วระรัวซึ่งไม่ทำให้เกิดการไหลเวียนของเลือด ไม่สามารถคลำชีพจรได้ เป็นภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะที่ยืนยันการวินิจฉัยได้ด้วยการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจเท่านั้น ถือเป็นภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์ที่จำเป็นต้องได้รับการกู้ชีพทันทีเนื่องจากหากการเต้นแบบฟิบริลเลชันนี้ดำเนินไปอีกไม่กี่วินาทีอาจกลายเป็นหัวใจหยุดเต้นได้ ภาวะเช่นนี้ทำให้เกิดภาวะช็อคเหตุหัวใจ ไม่มีการไหลเวียนของเลือด และทำให้เสียชีวิตได้ภายในไม่กี่นาที หากได้รับการกู้ชีพขึ้นมาไม่ทันท่วงที ทำให้สมองขาดออกซิเจนเกินกว่าระยะเวลาหนึ่ง (ประมาณ 5 นาทีที่อุณหภูมิห้อง) อาจมีความเสียหายของสมองอย่างไม่สามารถทำให้กลับคืนเป็นปกติได้หรือถึงขั้นสมองตายได้ หมวดหมู่:ภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์ หมวดหมู่:สาเหตุการเสียชีวิต หมวดหมู่:หัวใจเต้นผิดจังหวะ.

การกระตุกหัวใจด้วยไฟฟ้าและเว็นทริคูลาร์ ฟิบริลเลชัน · เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติและเว็นทริคูลาร์ ฟิบริลเลชัน · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง การกระตุกหัวใจด้วยไฟฟ้าและเครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ

การกระตุกหัวใจด้วยไฟฟ้า มี 4 ความสัมพันธ์ขณะที่ เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ มี 9 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 4, ดัชนี Jaccard คือ 30.77% = 4 / (4 + 9)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง การกระตุกหัวใจด้วยไฟฟ้าและเครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: