เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

กัลกิและทศาวตาร

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง กัลกิและทศาวตาร

กัลกิ vs. ทศาวตาร

กัลกี (กัลกะ, กลฺกิ; कल्कि) ในศาสนาฮินดูโบราณ คือมหาอวตารที่ 10 และเป็นมหาอวตารสุดท้ายของพระวิษณุเทพผู้คุ้มครองโลก กัลกีมาสู่โลกระหว่างการสิ้นสุดของกลียุค ชื่อ "กัลกิ" เป็นการอุปมาความเป็นนิรันดรและเวลา ต้นกำเนิดของชื่อนี้อาจจะมาจากคำว่า "กันคา" ซึ่งหมายถึง สิ่งสกปรก หรือ สิ่งโสโครก หรือ ความคดโกง ดังนั้น "กัลกิ" จึงหมายถึง ผู้ทำลายความคดโกง, ผู้ทำลายความเขลา, ผู้ทำลายความสับสนวุ่นวาย หรือ ผู้ทำลายความมืดมน ในศาสนาฮินดู "กัลกยาวตาร" หมายถึง "อวตารแห่งอนาคต" (อนาคตาวตาร) อย่างไรก็ตามมีการแปลความหมายที่แตกต่างออกไปอีก(ซึ่งมีพื้นฐานอยู่บนต้นกำเนิดทางนิรุกติศาสตร์จากภาษาสันสกฤตโบราณซึ่งแตกต่างกันไป โดยรวมถึงการแปลความหมายว่า ม้าขาว ซึ่งเป็นความหมายอย่างง่ายด้วย). อวตารของพระวิษณุ โดยราชา รวิ วรรมา วาดในช่วงศตวรรษที่ 19. ทศาวตาร () หมายถึง อวตารหลักทั้งสิบปางของพระวิษณุ เทพเจ้าในศาสนาฮินดู คำว่าทศาวตาร เป็นคำสมาสของคำว่า ทศ หมายถึง สิบ และ อวตาร หมายถึง การแบ่งภาคมาเก.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กัลกิและทศาวตาร

กัลกิและทศาวตาร มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): กลียุคศาสนาฮินดูอวตาร

กลียุค

กลียุค (อักษรเทวนาครี: कली युग) คือหนึ่งในช่วงเวลาในสี่ช่วงเวลาของการเปลี่ยนแปลงของโลก ซึ่งอธิบายไว้ในคัมภีร์ฮินดู โดยมียุคอื่นอีกได้แก่ สัตยยุค เตรตายุค และทวาปรยุค ซึ่งทั้ง 4 ยุครวมกันเรียกว่ามหายุค กลียุคมีอายุ 432,000 ปี การตีความคัมภีร์ฮินดูว่าปัจจุบันนี้โลกอยู่ในกลียุคมีคนเชื่อมากที่สุด การตีความคัมภีร์ฮินดูแบบอื่นๆ เชื่อว่าโลกอยู่ในช่วงเริ่มทวาปรยุค โดยทั่วไปแล้วกลียุคก็คือยุคมืดเพราะผู้คนห่างเหินจากพระเจ้าอย่างถึงที่สุด ตามคติของศาสนาพราหมณ์ เมื่อโลกมาถึงกลียุค เชื่อกันว่าพระศิวะ หรือพระอิศวร จะทรงเปิดพระเนตรดวงที่อยู่กลางหน้าผากขึ้น และโลกจะถูกทำลาย เพื่อคืนสมดุลของโลกให้เกิดการสร้างโลกขึ้นใหม.

กลียุคและกัลกิ · กลียุคและทศาวตาร · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาฮินดู

ัญลักษณ์ “โอม” สัญลักษณ์ของศาสนาฮินดู หมายถึงพระตรีมูรติ เทพเจ้าผู้เป็นใหญ่ทั้ง 3 ศาสนาฮินดู (Hinduism) หรือ สนาตนธรรม เป็นศาสนาแบบพหุเทวนิยมที่พัฒนาการต่อมาจากศาสนาพราหมณ์ จึงมักเรียกรวมกันว่าศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ไม่ปรากฏแน่ชัดว่าใครเป็นศาสดา มีพระเวทเป็นคัมภีร์หลัก มีศาสนิกชนมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก มีจำนวนประมาณ 900 ล้านคน ศาสนานี้นับถือเทพเจ้าหลายองค์ เรียกว่า "พหุเทวนิยม" เทพเจ้าแต่ละองค์ในแต่ละยุคสมัย มีบทบาท และตำนานต่างกันไป ในแต่ละท้องถิ่นยังมีความเชื่อเกี่ยวกับเทพเจ้าองค์หนึ่งๆ แตกต่างกันไปด้วย โดยทั่วไปถือว่าชาวฮินดูเชื่อว่ามีเทพเจ้าสูงสุด ที่ได้อวตารแยกร่างออกมาเป็น 3 องค์ เรียกว่า "ตรีมูรติ" คือ.

กัลกิและศาสนาฮินดู · ทศาวตารและศาสนาฮินดู · ดูเพิ่มเติม »

อวตาร

กัลกยาวตาร (อัศวินม้าขาว) อวตาร (अवतार, avatāra) คือการที่เทพเจ้าองค์ต่าง ๆ ตามความเชื่อของศาสนาฮินดูแบ่งภาคมาเกิดบนโลกมนุษย์ โดยเทพแบ่งพลังงานส่วนหนึ่งลงมาเกิดเป็นมนุษย์หรือสัตว์ เพื่อทำหน้าที่อย่างหนึ่งอย่างใด ในลัทธิไวษณพถือว่าเมื่อศีลธรรมของมนุษย์เสื่อมลง จนเกิดความเดือดร้อนไปทั่ว พระวิษณุจะอวตารลงมาปราบยุคเข็ญ การอวตารส่วนใหญ่มักจะเกี่ยวข้องกับพระวิษณุ แต่ก็ยังมีที่เชื่อมโยงกับเทวดาอื่น ๆ รายชื่อของพระนารายณ์อวตารปรากฏในคัมภีร์ฮินดูจำนวนมากรวมทั้งอวตารทั้งสิบในครุฑ ปุราณะ และอวตาร 22 ปางในภควัตปุราณะ รวมทั้งที่เพิ่มอีกภายหลังจนนับไม่ถ้วน พระวิษณุอวตารเป็นความเชื่อหลักของลัทธิไวษณพ หลักฐานเกี่ยวกับอวตารยุคแรก ๆ อยู่ในภควัทคีตา มีเรื่องราวเกี่ยวกับอวตารของพระศิวะและพระพิฆเนศ และเทพีต่าง ๆ โดยเฉพาะในหมู่ผู้นับถือลัทธิศักติ อย่างไรก็ตาม อวตารของพระนารายณ์เป็นที่รู้จักมากที.

กัลกิและอวตาร · ทศาวตารและอวตาร · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง กัลกิและทศาวตาร

กัลกิ มี 8 ความสัมพันธ์ขณะที่ ทศาวตาร มี 37 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 6.67% = 3 / (8 + 37)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กัลกิและทศาวตาร หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: