โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กัมพูชาประชาธิปไตยและสิบเจ็ดเมษามหาโชคชัย

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง กัมพูชาประชาธิปไตยและสิบเจ็ดเมษามหาโชคชัย

กัมพูชาประชาธิปไตย vs. สิบเจ็ดเมษามหาโชคชัย

กัมพูชาประชาธิปไตย (កម្ពុជាប្រជាធិបតេយ្យ กมฺพุชาบฺรชาธิบเตยฺย; Democratic Kampuchea) คือ ชื่อของประเทศกัมพูชาระหว่างปี.. ลงสิบเจ็ดเมษามหาโชคชัย (ដប់ប្រាំពីរមេសាមហាជោគជ័យ ฎบ่บฺรำพีรเมสามหาโชคชัย) เป็นเพลงชาติของประเทศกัมพูชา ในสมัยที่ใช้ชื่อว่า "กัมพูชาประชาธิปไตย" แต่งขึ้นเพื่อระลึกถึงความสำเร็จในการโค่นล้มรัฐบาลสาธารณรัฐเขมร และการสถาปนารัฐกัมพูชาใหม่ในนาม "กัมพูชาประชาธิปไตย" เมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2518 เนื้อหากล่าวถึงการเสียสละของเหล่านักรบทั้งชายและหญิงในการก่อตั้งรัฐกัมพูชาและสังคมใหม่ และประกาศปณิธานว่าจะทำให้กัมพูชามีความรุ่งเรืองและยิ่งใหญ่กว่าสมัยพระนคร เพลงนี้ไม่ปรากฏว่าผู้ใดแต่งทำนองและเนื้อร้อง แต่คาดเดากันว่านายพอลพต ผู้นำของเขมรแดงที่ชาวโลกรู้จักกันดี น่าจะมีส่วนร่วมในการแต่งเพลงนี้ด้วย รัฐบาลกัมพูชาประชาธิปไตยได้รับรองให้เพลงสิบเจ็ดเมษามหาโชคชัยเป็นเพลงชาติ ตามมาตรา 18 ของรัฐธรรมนูญแห่งประเทศกัมพูชาประชาธิปไตย ลงวันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2519 ข้อมูลบางแหล่งจากซีกโลกตะวันตกได้กล่าวถึง เพลงสิบเจ็ดเมษามหาโชคชัย ใช้เป็นเพลงชาติของแนวร่วมเขมรสามฝ่ายจนถึง พ.ศ. 2536.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กัมพูชาประชาธิปไตยและสิบเจ็ดเมษามหาโชคชัย

กัมพูชาประชาธิปไตยและสิบเจ็ดเมษามหาโชคชัย มี 8 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2518พ.ศ. 2519พ.ศ. 2536พล พตสาธารณรัฐเขมรประเทศกัมพูชาเขมรแดง17 เมษายน

พ.ศ. 2518

ทธศักราช 2518 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1975 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

กัมพูชาประชาธิปไตยและพ.ศ. 2518 · พ.ศ. 2518และสิบเจ็ดเมษามหาโชคชัย · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2519

ทธศักราช 2519 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1976 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

กัมพูชาประชาธิปไตยและพ.ศ. 2519 · พ.ศ. 2519และสิบเจ็ดเมษามหาโชคชัย · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2536

ทธศักราช 2536 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1993 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

กัมพูชาประชาธิปไตยและพ.ศ. 2536 · พ.ศ. 2536และสิบเจ็ดเมษามหาโชคชัย · ดูเพิ่มเติม »

พล พต

ซาลต ซอ (សាឡុត ស สาฬุต สอ) หรือ พล พต (ប៉ុល ពត ปุล พต, ออกเสียง: ปล โปต; 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2468 - 15 เมษายน พ.ศ. 2541) เป็นนักปฏิวัติชาวกัมพูชาที่เป็นผู้นำเขมรแดง ตั้งแต..

กัมพูชาประชาธิปไตยและพล พต · พล พตและสิบเจ็ดเมษามหาโชคชัย · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐเขมร

รณรัฐเขมร (Khmer Republic; République Khmère) เป็นรัฐบาลของประเทศกัมพูชาที่ปกครองด้วยระบอบสาธารณรัฐ ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 9 ตุลาคม..

กัมพูชาประชาธิปไตยและสาธารณรัฐเขมร · สาธารณรัฐเขมรและสิบเจ็ดเมษามหาโชคชัย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกัมพูชา

กัมพูชา หรือ ก็อมปุเจีย (កម្ពុជា กมฺพุชา) ชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรกัมพูชา หรือ ราชอาณาจักรก็อมปุเจีย (ព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា พฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา) เป็นประเทศตั้งอยู่ในส่วนใต้ของคาบสมุทรอินโดจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนทิศตะวันตกติดต่อกับประเทศไทย ทิศเหนือติดกับประเทศไทยและลาว ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับเวียดนาม และทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดอ่าวไทย ด้วยประชากรกว่า 14.8 ล้านคน กัมพูชาเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 66 ของโลก ศาสนาพุทธนิกายเถรวาทเป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งประชากรกัมพูชานับถือประมาณ 95% ชนกลุ่มน้อยในประเทศมีชาวเวียดนาม ชาวจีน ชาวจาม และชาวเขากว่า 30 เผ่า เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุด คือ พนมเปญ ซึ่งเป็นศูนย์กลางการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของกัมพูชา ราชอาณาจักรกัมพูชาปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ มีพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี มาจากการเลือกตั้งโดยราชสภาเพื่อราชบัลลังก์ เป็นประมุขแห่งรัฐ ประมุขรัฐบาล คือ สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน ผู้ซึ่งปัจจุบันเป็นผู้นำที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยได้ปกครองกัมพูชามาเป็นระยะเวลากว่า 25 ปี ใน..

กัมพูชาประชาธิปไตยและประเทศกัมพูชา · ประเทศกัมพูชาและสิบเจ็ดเมษามหาโชคชัย · ดูเพิ่มเติม »

เขมรแดง

ธงแดงรูปค้อนเคียวของพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา (ต่อมาคือพรรคกัมพูชาประชาธิปไตย) เขมรแดง (เขมร: ខ្មែរក្រហម; แขฺมรกฺรหม; อ่านว่า คแมร์กรอฮอม /ฝรั่งเศสและอังกฤษ: Khmer Rouge) หรือที่รู้จักกันในชื่อ “กองทัพแห่งชาติกัมพูชาประชาธิปไตย” (Armée nationale du Kampuchéa démocratique) คือ กองกำลังคอมมิวนิสต์กัมพูชา ที่เคยปกครองราชอาณาจักรกัมพูชา ซึ่งในขณะนั้นถูกเปลี่ยนชื่อเป็นกัมพูชาประชาธิปไตย ตั้งแต่ พ.ศ. 2518 ถึง พ.ศ. 2522 เขมรแดงถือเป็นตัวแทนความสำเร็จเชิงอำนาจของพรรคการเมืองลัทธิคอมมิวนิสต์ในกัมพูชา ที่ต่อมาได้พัฒนาไปเป็น “พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา” (Communist Party of Kampuchea; Parti communiste du Kampuchéa – PCK) และ “พรรคกัมพูชาประชาธิปไตย” (Parti du Kampuchéa démocratique) รูปแบบการปกครองของเขมรแดงมีจุดประสงค์เพื่อสร้าง "สังคมใหม่" โดยใช้รากฐานทางอุดมการณ์ที่เรียกว่า "อุดมการณ์ปฏิวัติแบบเบ็ดเสร็จ" (idéologie de révolution totale) ที่มีการรักษาเผด็จการโดยชนชั้นกรรมาชีพ เป็นตัวขับเคลื่อน สิ่งแรกที่เขมรแดงกระทำหลังจากได้รับอำนาจ คือ การกวาดต้อนประชาชนกัมพูชาทั้งหมดจากกรุงพนมเปญและเมืองสำคัญอื่น ๆ มาบังคับให้ทำการเกษตรและใช้แรงงานร่วมกันในพื้นที่ชนบท เพื่อจำแนกประชาชนที่ถือว่าเป็น "ศัตรูทางชนชั้น" ไม่ว่าจะเป็น ทหาร ข้าราชการ เชื้อพระวงศ์ ผู้มีการศึกษา หรือผู้มีวิชาชีพเฉพาะในด้านต่าง ๆ ออกมาเพื่อขจัดทิ้ง การกระทำดังกล่าวนี้ ส่งผลให้ประชาชนชาวกัมพูชาต้องเสียชีวิตจากการถูกสังหาร ถูกบังคับใช้แรงงาน และความอดอยาก เป็นจำนวนประมาณ 850,000 ถึง 3 ล้านคน ซึ่งเมื่อเทียบอัตราส่วนของประชาชนที่เสียชีวิตต่อจำนวนประชาชนกัมพูชาทั้งหมดในขณะนั้น (ประมาณ 7.5 ล้านคน ใน พ.ศ. 2518) ถือได้ว่าระบอบการปกครองของเขมรแดงเป็นหนึ่งในระบอบที่มีความรุนแรงที่สุดในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 หลังจากที่เขมรแดงปกครองกัมพูชาเป็นระยะเวลา 4 ปี ใน..

กัมพูชาประชาธิปไตยและเขมรแดง · สิบเจ็ดเมษามหาโชคชัยและเขมรแดง · ดูเพิ่มเติม »

17 เมษายน

วันที่ 17 เมษายน เป็นวันที่ 107 ของปี (วันที่ 108 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 258 วันในปีนั้น.

17 เมษายนและกัมพูชาประชาธิปไตย · 17 เมษายนและสิบเจ็ดเมษามหาโชคชัย · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง กัมพูชาประชาธิปไตยและสิบเจ็ดเมษามหาโชคชัย

กัมพูชาประชาธิปไตย มี 66 ความสัมพันธ์ขณะที่ สิบเจ็ดเมษามหาโชคชัย มี 13 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 8, ดัชนี Jaccard คือ 10.13% = 8 / (66 + 13)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กัมพูชาประชาธิปไตยและสิบเจ็ดเมษามหาโชคชัย หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »