กันยายนและปลาหมอคิวปิโด
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง กันยายนและปลาหมอคิวปิโด
กันยายน vs. ปลาหมอคิวปิโด
กันยายน เป็นเดือนที่ 9 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 4 เดือนที่มี 30 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนกันยายนเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีกันย์ และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีตุล แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนกันยายนดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวสิงโตและปลายเดือนไปอยู่ในกลุ่มดาวหญิงสาว เดือนกันยายนในภาษาอังกฤษ September มาจากภาษาละติน septem เนื่องจากเป็นเดือนที่ 7 ในปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มต้นปีในเดือนมีนาคม ประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนกันยายนในปี พ.ศ. 2432 ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาเทววงศ์วโรปการ เป็นผู้เสนอให้ใช้ราศีกำหนดชื่อเดือน. ปลาหมอคิวปิโด หรือ ปลาหมอคิวปิด (Greenstreaked eartheater, Cupid cichlid) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Biotodoma cupido จัดอยู่ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) มีลักษณะแบนข้าง ส่วนหัวโค้งมน ปลายปากแหลมเล็กน้อย ดวงตาใหญ่มีเส้นสีดำพาดผ่านในแนวตั้ง ปากมีขนาดเล็กอยู่ในตำแหน่งกลางของหน้า บริเวณแก้มมีเส้นสีเขียวสะท้อนแสง ซึ่งเมื่อปลาโตขึ้นจะเพิ่มขึ้นด้วย ลำตัวเป็นสีเหลืองน้ำผึ้งฉาบด้วยสีฟ้าเขียว ครีบอกเรียวยาวที่ก้านครีบแรกเป็นสีเหลือบเขียวฟ้าเหมือนลายที่บริเวณหน้า ขอบครีบหลังมีสีฟ้าอมเขียว ครีบก้นมีขนาดใหญ่เป็นสีชมพูอ่อน ขอบบนล่างของครีบเป็นก้านครีบแข็งใหญ่สีเหลือบฟ้าขาว ที่ลำตัวเหนือเส้นข้างลำตัวมีจุดสีดำขนาดใหญ่เห็นชัดเจน มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 14 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำที่มีกระแสน้ำไม่แรงนัก พื้นท้องน้ำมีเศษซากใบไม้และอินทรียวัตถุทับถมกัน ทำให้มีสภาพน้ำเป็นกรดอ่อน ๆ ในทวีปอเมริกาใต้ แถบประเทศเปรูจนถึงชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติกของประเทศบราซิล เช่น แม่น้ำอเมซอน, โอริโนโค และกายอานา ซึ่งปลาในแต่ละแหล่งน้ำอาจมีความแตกต่างกันบ้างเล็ก ๆ น้อย ๆ ในลักษณะและสีสัน มีพฤติกรรมการหากินโดยกินสัตว์น้ำขนาดเล็กและแพลงก์ตอนตามพื้นน้ำ พฤติกรรรมเมื่อถึงฤดูผสมพันธุ์ ปลาเพศเมียจะมีขนาดและครีบต่าง ๆ ใหญ่กว่าเพศผู้ โดยปลาทั้งคู่จะขุดหลุมตื้น ๆ เพื่อวางไข่ และมีพฤติกรรมขับไล่ปลาหรือสัตว์อื่นที่ผ่านเข้ามาใกล้ ไข่ใช้เวลาฟักเป็นตัวประมาณ 3 วัน เมื่อฟักเป็นตัวแล้ว ปลาเพศเมียจะนำลูกไปเลี้ยงไว้ในหลุมที่ขุดไว้ ส่วนเพศผู้จะทำหน้าที่เสมือนยามรักษาความปลอดภัยภายนอก เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม นับได้ว่าเป็นปลาหมอสีชนิดหนึ่งที่มีความสวยงามและไม่ดุร้าย และจะยิ่งเพิ่มความสวยงามของสีสันขึ้นเมื่อต้องกับแสงแดด อีกทั้งสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้ในตู้เลี้ยง แต่สำหรับในประเทศไทย เป็นปลาที่ค่อนข้างหายากเนื่องจากมีการนำเข้ามาจำหน่ายเพียงไม่กี่ครั้งเท่านั้น ซึ่งในชื่อวิทยาศาสตร์นั้น คำว่า Biotos มาจากภาษากรีกหมายถึง "ชีวิต" ผสมกับคำว่า domos หมายถึง "ม้า" และคำว่า cupio มาจากภาษาละตินซึ่งหมายถึง "Cupidus" หรือคิวปิด ซึ่งเป็นกามเทพ ในความหมายซึ่งผู้อนุกรมวิธาน (โยฮานน์ ยาค็อบ เฮ็กเคล) ต้องการสื่อความหมายว่า ตกหลุมรักปลาชนิดนี้ตั้งแต่แรก.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กันยายนและปลาหมอคิวปิโด
กันยายนและปลาหมอคิวปิโด มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ภาษาละติน
ษาละติน (Latin) เป็นภาษาโบราณในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน มีต้นกำเนิดในที่ราบลาติอุม (Latium) ซึ่งเป็นพื้นที่รอบๆกรุงโรม และได้ชื่อว่าเป็นภาษาทางการในการสื่อสารของจักรวรรดิโรมัน ต่อมาภาษาละตินได้ถูกกำหนดให้เป็นภาษาสื่อสารและในพิธีสวดของศาสนจักรโรมันคาทอลิก และยังเป็นภาษาที่ใช้โดยนักวิทยาศาสตร์ นักปรัชญา และนักเทววิทยาของยุโรป ตั้งแต่ตลอดยุคกลางจนมาถึงยุคสมัยใหม่ ภาษาละตินจึงเป็นภาษาต้นฉบับของงานเขียนที่ทรงคุณค่าทั้งทางประวัติศาสตร์ และทางวรรณกรรมเป็นจำนวนมาก ภาษาอังกฤษได้รับคำในภาษาละตินเข้ามาในภาษาตนเป็นจำนวนมาก เนื่องจากอิทธิพลของเจ้าปกครองชาวแองโกล-นอร์มัน ซึ่งใช้ภาษาฝรั่งเศส นอกจากนี้คำศัพท์ที่ใช้ในสาขาวิทยาศาสตร์และการแพทย์ ล้วนเป็นคำศัพท์ภาษาละตินหรือสร้างจากภาษาละติน ภาษาละตินเป็นภาษามีวิภัติปัจจัย (การผันคำ) มีการก 7 การก (case), มีเพศ 3 เพศ, และมีพจน์ 2 พจน์ ภาษาอื่น ๆ อีกหลายภาษาที่ใช้ในปัจจุบัน พัฒนาสืบต่อมาจากภาษาละตินพื้นบ้าน ซึ่งจะเรียกกลุ่มภาษาเหล่านี้ว่า ภาษากลุ่มโรมานซ์ ภาษาที่อยู่ในกลุ่มภาษาโรมานซ์ที่สำคัญได้แก่ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาโรมาเนีย ภาษาอิตาลี ภาษาโปรตุเกส และภาษาสเปน ภาษาส่วนใหญ่ในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียนก็มีความสัมพันธ์บางอย่างกับภาษาละติน แม้ภาษาละตินในปัจจุบัน จะมีผู้ใช้น้อยมากจนถูกนับว่าเกือบเป็นภาษาสูญแล้ว แต่การศึกษาภาษาละตินในโรงเรียนและในมหาวิทยาลัยก็ยังคงมีอยู่อย่างแพร่หลาย นอกจากนี้อักษรละติน (ที่พัฒนามาจากอักษรกรีก) ยังคงมีใช้ในหลายภาษา และเป็นอักษรที่ใช้มากที่สุดในโลก.
กันยายนและภาษาละติน · ปลาหมอคิวปิโดและภาษาละติน · ดูเพิ่มเติม »
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ กันยายนและปลาหมอคิวปิโด มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง กันยายนและปลาหมอคิวปิโด
การเปรียบเทียบระหว่าง กันยายนและปลาหมอคิวปิโด
กันยายน มี 27 ความสัมพันธ์ขณะที่ ปลาหมอคิวปิโด มี 25 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 1.92% = 1 / (27 + 25)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กันยายนและปลาหมอคิวปิโด หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: