โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กะเทยและเพลงสุดท้าย

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง กะเทยและเพลงสุดท้าย

กะเทย vs. เพลงสุดท้าย

กะเทย ในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ให้ความหมายว่า "คนที่มีอวัยวะเพศทั้งชายและหญิง, คนที่มีจิตใจและกิริยาอาการตรงข้ามกับเพศของตน; ผลไม้ที่เมล็ดลีบ เช่น ลำไยกะเทย" ส่วนความหมายทางแพทยศาสตร์ หมายถึง คนที่มีอวัยวะของทั้งผู้หญิงและผู้ชายอยู่ในคน ๆ เดียวกัน ส่วนกะเทยที่มีจิตใจตรงข้ามกับเพศของตน ทางการแพทย์เรียกกลุ่มนี้ว่า "ลักเพศ". ลงสุดท้าย เป็นภาพยนตร์ไทย จากบทประพันธ์เรื่องของ วรรณิศา กำกับโดย พิศาล อัครเศรณี เข้าฉายเมื่อ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2528 นำแสดงโดย สาวประเภทสอง "สมหญิง ดาวราย" นางโชว์ดาวเด่นชื่อดังจากทิฟฟานีโชว์ พัทยา ร่วมกับ บิณฑ์ บันลือฤทธิ์, วรรณิศา ศรีวิเชียร,จิระวดี อิศรางกูร ณ อยุธยา,ชลิต เฟื่องอารมย์ และ เหี่ยวฟ้า เพลงประกอบชื่อ เพลงสุดท้าย ร้องโดย สุดา ชื่นบาน (แทนเสียง สมหญิง ดาวราย) ประสบความสำเร็จอย่างสูงเช่นเดียวกับภาพยนตร์ จนมีภาคสอง ชื่อ รักทรมาน นำแสดงโดย สมหญิง อีกครั้ง ในบท สมนึก น้องชายของสมหญิงที่ตายไป กลับไปล่อลวงให้พระเอกต้องผิดหวังบ้าง ออกฉายเมื่อ พ.ศ. 2530 ต่อมาสร้างภาคแรกใหม่อีกครั้ง เข้าฉายเมื่อ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2549 นำแสดงโดย อารยา อริยะวัฒนา, วชรกรณ์ ไวยศิลป์, นิรุตต์ ศิริจรรยา, สุมนต์รัตน์ วัฒนาเศลารัตต์, เจริญพร อ่อนละม้าย และ เหี่ยวฟ้า เรื่องราวของ สาวประเภทสอง ที่ผิดหวังในความรักจากชายหนุ่ม และเธอได้เลือกที่จะจบชีวิตลงบนเวทีที่ทำให้เธอเกิดในโลกของการแสดง ด้วยบทเพลงสุดท้ายของชีวิต.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กะเทยและเพลงสุดท้าย

กะเทยและเพลงสุดท้าย มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง กะเทยและเพลงสุดท้าย

กะเทย มี 47 ความสัมพันธ์ขณะที่ เพลงสุดท้าย มี 20 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (47 + 20)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กะเทยและเพลงสุดท้าย หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »