กอริลลาภูเขาและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง กอริลลาภูเขาและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม
กอริลลาภูเขา vs. สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม
กอริลลาภูเขา (Mountain gorilla) เป็นชนิดย่อยของกอริลลาตะวันออก (G. ฺberingei) ชนิดหนึ่ง กอริลลาภูเขาเป็นสัตว์เฉพาะถิ่นพบกระจายพันธุ์อยู่ในเขตเทือกเขาวีรูงกาในเขตแดน 3 ประเทศเท่านั้น คือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก, รวันดา และอูกันดา โดยแบ่งออกได้เป็นฝูงทั้งหมด 3 ฝูง ฝูงแรกมีชื่อเรียกว่า "วีรูงกา" มีจำนวนประมาณ 480 ตัว อาศัยอยู่ในเทือกเขาวีรูงกาและภูเขาไฟในอุทยานแห่งชาติทางตอนเหนือของรวันดา ในป่ามงตาน ซึ่งเป็นป่าไผ่ ในระดับความสูงจากน้ำทะเล 2,500–4,000 เมตร, ฝูงที่สองมีชื่อเรียกว่า "มจาฮิงจา" พบทางตอนใต้ของอูกันดา และ "บวินดี" พบในอุทยานแห่งชาติบวินดี ในอูกันดา อาศัยอยู่ในเทือกเขาสูงจากระดับน้ำทะเล 1,500–2,300 เมตร มีประมาณ 400 ตัว โดยถือเป็นสถานที่ ๆ มีชื่อเสียงที่พบได้มากที่สุดอีกด้วย โดยจำนวนกอริลลาภูเขาในปัจจุบันในธรรมชาติมีประมาณ 880 ตัว กอริลลาภูเขา มีพฤติกรรมเหมือนกับกอริลลาชนิดอื่น ๆ คือ อาศัยอยู่เป็นครอบครัว ประกอบด้วยตัวผู้จ่าฝูงที่มีหลังขนหลังสีหงอกเทาหรือสีเงิน หรือที่เรียกว่า "หลังเงิน" (Silverback) ตัวเมียและลูก ๆ จัดเป็นกอริลลาที่มีขนาดใหญ่มากอีกชนิดหนึ่ง โดยเป็นกอริลลาที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 รองจากกอริลลาที่ลุ่มตะวันออก (G. b. graueri) ซึ่งถือเป็นกอรริลาตะวันออกอีกชนิดหนึ่งเท่านั้น ตัวผู้ที่โตเต็มที่หนักได้ถึง 195 กิโลกรัม (430 ปอนด์) และสูงเมื่อยืนด้วยสองขาหลังประมาณ 150 เซนติเมตร (59 นิ้ว) และน้ำหนักในตัวเมีย 100 กิโลกรัม (220 ปอนด์) และสูงประมาณ 130 เซนติเมตร (51 นิ้ว)ช่วงแขนที่วัดจากปลายนิ้วข้างหนึ่งถึงอีกข้างหนึ่งอาจยาวถึง 2 เมตร อาศัยอยู่ในป่าดิบทึบและป่าเมฆที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเล 2,200–4,300 เมตร (7,200–14,100 ฟุต) ในพื้นที่ ๆ อุณหภูมิมีความหนาวเย็นประมาณ 10 องศาเซลเซียสและชื้นแฉะ กอริลลาภูเขา เป็นสัตว์ที่กินพืชเป็นอาหารหลัก โดยมีชนิดพืชที่กินได้หลากหลาย เมื่อกินแล้วจะถ่ายมูลซึ่งมีลักษณะคล้ายกับอุจจาระของมนุษย์ตามสุมทุมพุ่มไม้ต่าง ๆ หรีอบางครั้งอาจถ่ายทิ้งไว้ที่ระหว่างทาง มีพฤติกรรมย้ายที่หากินไปเรื่อย ๆ ไม่มีหลักแหล่งที่แน่นอน ตัวผู้ในวัยโตเต็มที่จะกินอาหารมากถึงวันละ 30 กิโลกรัม ขณะที่ในตัวเมีย 18 กิโลกรัม ในฝูง ๆ หนึ่งประกอบไปด้วยตัวผู้ที่เป็นจ่าฝูง โดยมีตัวเมียประมาณ 3 ตัว และมีกอริลลาที่ยังไม่โตเต็มวัยซึ่งเป็นลูก ๆ อีกราว 3 ตัว ซึ่งแต่ละฝูงจะมีอาณาเขตเป็นของตัวเองชัดเจน โดยตัวผู้จ่าฝูงจะทำหน้าที่ปกป้องดูแลอาณาเขตของตัวเอง อีกทั้งยังมีพฤติกรรมคล้ายกับมนุษย์มาก กล่าวคือ จับคู่เพียงตัวเดียวตลอดชีวิต, มีการแข่งขันกันเองในหมู่พี่น้อง, ลูกตัวผู้มีการต่อสู้กับพ่อ หรือการที่จ่าฝูงที่อายุมากแล้วส่งมอบการเป็นจ่าฝูงให้แก่ตัวที่แข็งแรงกว่าตัวใหม่ขึ้นเป็นจ่าฝูงแทน เป็นต้นหน้า 7 จุดประกาย, Mountain Gorilla ออกเดินทางตามหากอริลลาภู. ัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม (Mammalia) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง โดยคำว่า Mammalia มาจากคำว่า Mamma ที่มีความหมายว่า "หน้าอก" เป็นกลุ่มของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ที่มีการวิวัฒนาการและพัฒนาร่างกายที่ดีหลากหลายประการ รวมทั้งมีระบบประสาทที่เจริญก้าวหน้า สามารถดำรงชีวิตได้ในทุกสภาพสิ่งแวดล้อมสัตววิทยา (สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม), บพิธ-นันทพร จารุพันธุ์, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2547, หน้า 411 มีขนาดของร่างกายและรูปพรรณสัณฐานที่แตกต่างกันออกไป รวมถึงการทำงานของระบบต่าง ๆ ภายในร่างกาย ที่มีการปรับเปลี่ยนไปตามลักษณะของสายพันธุ์ มีลักษณะเด่นคือมีต่อมน้ำนมที่มีเฉพาะในเพศเมียเท่านั้น เพื่อผลิตน้ำนมเพื่อใช้เลี้ยงลูกวัยแรกเกิด เป็นสัตว์เลือดอุ่น มีขนเป็นเส้น ๆ (hair) หรือขนอ่อน (fur) ปกคลุมทั่วทั้งร่างกาย เพื่อเป็นการรักษาอุณหภูมิในร่างกาย ยกเว้นสัตว์น้ำที่ไม่มีขน สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ไม่จัดอยู่ในประเภทสัตว์กลุ่มใหญ่ คือมีจำนวนประชากรประมาณ 4,500 ชนิด ซึ่งถือว่าเป็นปริมาณน้อยมากเมื่อเทียบกับนก ที่มีประมาณ 9,200 ชนิด และปลาอีกประมาณ 20,000 ชนิด รวมทั้งแมลงอีกประมาณ 800,000 ชนิด ส่วนใหญ่เป็นสัตว์บก เช่น สุนัข ช้าง ลิง เสือ สิงโต จิงโจ้ เม่น หนู ฯลฯ สำหรับสัตว์น้ำที่จัดเป็นเลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ได้แก่ โลมา วาฬ มานาทีและพะยูน แต่สำหรับสัตว์ปีกประเภทเดียวที่เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมคือค้างคาว ซึ่งกระรอกบินและบ่างนั้น ไม่จัดอยู่ในประเภทของสัตว์ปีก เนื่องจากใช้ปีกในการร่อนไปได้เพียงแค่ระยะหนึ่งเท่านั้น สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมส่วนใหญ่ออกลูกเป็นตัว ยกเว้นตุ่นปากเป็ดและอีคิดนาเท่านั้นที่ออกลูกเป็น.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กอริลลาภูเขาและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม
กอริลลาภูเขาและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม มี 4 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): กอริลลาสัตว์สัตว์มีแกนสันหลังอันดับวานร
ัวน้อย กอริลลาเพศเมียที่มีชื่อเสียงแห่งสวนสัตว์พาต้า กอริลลา (Gorilla) เป็นเอปที่อยู่ในเผ่า Gorillini และสกุล Gorilla ในวงศ์ Hominidae นับเป็นไพรเมตที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่ยังดำรงเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน กอริลลา จัดเป็นเอปจำพวกหนึ่งในบรรดาเอปทั้งหมดที่ยังคงดำรงเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน และจัดเป็นเอปและไพรเมตที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก มีถิ่นกำเนิดอยู่ในตอนกลางของทวีปแอฟริกา ทั้งที่เป็นที่ราบต่ำ และเป็นภูเขาสูงแถบเทือกเขาวีรูงกาที่มีระดับความสูงจากน้ำทะเลถึง 2,200–4,300 เมตร (7,200–14,100 ฟุต) ในคองโก และรวันดา กอริลลา นับได้ว่าเป็นเอปที่มีความใกล้เคียงกับมนุษย์มากที่สุดรองจากชิมแปนซีและโบโนโบ โดยมีดีเอ็นเอที่ใกล้เคียงกับมนุษย์ถึงร้อยละ 95–99.
กอริลลาและกอริลลาภูเขา · กอริลลาและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม · ดูเพิ่มเติม »
ัตว์ (Animal) เป็นสิ่งมีชีวิตยูแคริโอตหลายเซลล์ในอาณาจักร Animalia (หรือเรียก เมตาซัว) แผนกาย (body plan) ของพวกมันสุดท้ายคงที่เมื่อพัฒนา แม้สัตว์บางชนิดมีกระบวนการการเปลี่ยนสัณฐานภายหลังในช่วงชีวิต สัตว์ส่วนใหญ่เคลื่อนที่ได้ สัตว์ทุกชนิดต้องกินสิ่งมีชีวิตอื่นหรือผลิตภัณฑ์ของสิ่งมีชีวิตเพื่อการดำรงชีพ (สิ่งมีชีวิตสร้างอาหารเองไม่ได้) ไฟลัมสัตว์ที่รู้จักกันดีที่สุดปรากฏในบันทึกฟอสซิลเป็นสปีชีส์ภาคพื้นสมุทรระหว่างการระเบิดแคมเบรียน (Cambrian explosion) ประมาณ 542 ล้านปีก่อน สัตว์แบ่งเป็นกลุ่มย่อยหลายกลุ่ม บางกลุ่ม เช่น สัตว์มีกระดูกสันหลัง (นก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน ปลา) มอลลัสกา (หอยกาบ หอยนางรม ปลาหมึก หมึกสาย หอยทาก) สัตว์ขาปล้อง (กิ้งกือ ตะขาบ แมลง แมงมุม แมงป่อง ปู ลอบสเตอร์ กุ้ง) สัตว์พวกหนอนปล้อง (ไส้เดือนดิน ปลิง) ฟองน้ำ และแมงกะพรุน.
กอริลลาภูเขาและสัตว์ · สัตว์และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม · ดูเพิ่มเติม »
ัตว์มีแกนสันหลัง คือสัตว์ในไฟลัมคอร์ดาตา พวกมันจะมีแกนสันหลัง ใยประสาทส่วนหลังกลวง ช่องคอหอย หลอดเส้นประสาทกลวงส่วนหลัง และหางหลังทวารหนัก ในช่วงหนึ่งของวงจรชีวิต สัตว์มีแกนสันหลังเป็นพวกดิวเทอโรสโตม กล่าวคือในช่วงระยะตัวอ่อน ทวารหนักเกิดก่อนปาก และเป็นซีโลเมตที่มีสมมาตรด้านข้าง ในกรณีของสัตว์มีแกนสันหลังที่มีกระดูกสันหลัง แกนสันหลังจะถูกแทนที่โดยกระดูกสันหลังในช่วงเจริญเติบโต และพวกมันอาจจะมีปล้องตามร่างกาย ในอนุกรมวิธาน ตัวไฟลัมเองประกอบไปด้วยไฟลัมย่อยเวอร์เตบราตา (ซึ่งประกอบด้วย ปลา สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์ปีก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม) ทูนิคาตา (ซึ่งรวมทั้งซาล์ปและเพรียงหัวหอม) และเซฟาโลคอร์ดาตา ประกอบด้วยแหลนทะเล และยังรวมถึงบางกลุ่มที่สูญพันธุ์ไปแล้ว บางครั้งกลุ่มสัตว์มีกระดูกสันหลังถูกจัดรวมอยู่กับกลุ่มสัตว์มีกระโหลกศีรษะ สัตว์มีแกนสันหลังมีมากกว่า 65,000 สปีชีส์ที่ยังมีชีวิตอยู่ กว่าครึ่งเป็นพวกปลากระดูกแข็ง วาฬและเหยี่ยวเพเรกริน สัตว์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดและเคลื่อนที่เร็วที่สุดตามลำดับ เป็นสัตว์มีแกนสันหลังเช่นเดียวกันกับมนุษย์ ซากดึกดำบรรพ์ของสัตว์มีแกนสันหลังยุคแรกๆ มีอายุย้อนไปถึงในช่วงการระเบิดยุคแคมเบรียน.
กอริลลาภูเขาและสัตว์มีแกนสันหลัง · สัตว์มีแกนสันหลังและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม · ดูเพิ่มเติม »
อันดับวานร หรือ อันดับไพรเมต (Primate) เป็นอันดับของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม อันได้แก่ สัตว์จำพวกลีเมอร์, ลิง และลิงไม่มีหาง ซึ่งรวมถึงมนุษย์ด้วย มีชื่อสามัญเรียกกันโดยทั่วไปว่า ไพรเมต จึงกล่าวได้ว่าสามารถพบไพรเมตได้ทั่วโลก โดยไพรเมตที่ไม่ใช่มนุษย์ ส่วนใหญ่จะอยู่ในแอฟริกา, ตอนล่างของทวีปเอเชีย, อเมริกากลาง และอเมริกาใต้ แต่จะพบไพรเมตอยู่เพียงไม่กี่ชนิดในแถบตอนเหนือของทวีปเอเชีย จนถึงตอนเหนือของญี่ปุ่น หรือตอนเหนือของอเมริกา และเม็กซิโก โดยที่ไม่พบในทวีปยุโรป และทวีปออสเตรเลีย โดยใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Primates.
กอริลลาภูเขาและอันดับวานร · สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมและอันดับวานร · ดูเพิ่มเติม »
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ กอริลลาภูเขาและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง กอริลลาภูเขาและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม
การเปรียบเทียบระหว่าง กอริลลาภูเขาและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม
กอริลลาภูเขา มี 11 ความสัมพันธ์ขณะที่ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม มี 175 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 4, ดัชนี Jaccard คือ 2.15% = 4 / (11 + 175)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กอริลลาภูเขาและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: