โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กองทุนบริหารความเสี่ยงและการฉ้อฉลแบบพอนซี

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง กองทุนบริหารความเสี่ยงและการฉ้อฉลแบบพอนซี

กองทุนบริหารความเสี่ยง vs. การฉ้อฉลแบบพอนซี

กองทุนบริหารความเสี่ยง หรือ กองทุนรวมเพื่อความเสี่ยง หรือ เฮดจ์ฟันด์ (Hedge Fund) เป็นกองทุนที่รวบรวมเงินจากผู้ลงทุนที่ไม่เปิดเผย ซึ่งพร้อมที่ให้นำไปบริหาร โดยยอมรับข้อเท็จจริงที่ว่า การลงทุนซึ่งทำกำไรได้สูงสุดในระยะเวลาน้อยที่สุดมักจะมีความเสี่ยงสูงเสมอ ส่วนใหญ่ใช้กลยุทธ์ใหม่ๆ ในการบริหารจัดการโดยไม่ได้จำกัดการลงทุนเพียงในทรัพย์สินกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เช่น หุ้น หรือพันธบัตร แต่จะผสมผสานการลงทุนในสินทรัพย์หลายๆ อย่าง ในปี พ.ศ. 2492 อัลเฟรด วินสโลว์ โจนส์ ได้ก่อตั้งกองทุนเฮดจ์ฟันด์ขึ้น โดยตั้งใจที่จะป้องกันความเสี่ยงจากตลาดบางส่วน ด้วยการขายหุ้นกลุ่มหนึ่งที่ยืมมา และซื้อหุ้นอีกกลุ่มหนึ่ง (หรือเรียกว่า long-short) และต่อมาในปัจจุบันกองทุนประเภทนี้ขยายขอบเขตการลงทุนไปกว้างขวางมากขึ้นกว่าเดิมมาก เฮดจ์ฟันด์ จึงหมายถึงกองทุนใดๆ ที่ไม่ได้จดทะเบียนกับหน่วยงานที่ดูแลกำกับ ซึ่งเทียบเท่ากับสำนักงานกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ของไทย เฮดจ์ฟันด์ไม่จำเป็นต้องขึ้นทะเบียน ถ้านักลงทุนแต่ละรายที่มีมูลค่าสุทธิของการลงทุนอย่างน้อย 1 ล้านดอลลาร์ หรือมีรายได้เฉลี่ยต่อปีในครัวเรือนมากกว่า 300,000 ดอลลาร์ขึ้นไป ต่อเนื่องกันเป็นเวลา 2 ปี. ปี 2463 ของนายชาลส์ พอนซี่ ที่ชื่อกลายเป็นชื่อวิธีการฉ้อฉล ในช่วงที่ยังทำงานเป็นนักธุรกิจในสำนักงานของตนในเมืองบอสตัน กลเม็ดพอนซี หรือ ธุรกิจพอนซี หรือ การฉ้อฉลแบบพอนซี (Ponzi scheme) เป็นปฏิบัติการลงทุนแบบฉ้อฉลที่ผู้ดำเนินการ ไม่ว่าจะเป็นบุคคลหรือเป็นองค์กร จ่ายผลกำไรให้แก่นักลงทุนโดยใช้เงินลงทุนใหม่จากนักลงทุนใหม่ แทนที่จะใช้ผลกำไรที่ผู้ดำเนินการลงทุนหาได้ ผู้ดำเนินการวิธีนี้มักจะโน้มน้าวชักชวนผู้ลงทุนใหม่ โดยให้ผลกำไรที่สูงกว่าการลงทุนประเภทอื่น ๆ ในรูปแบบที่ได้ผลเร็ว ไม่ว่าจะเป็นผลตอบแทนที่สูงหรืออย่างสม่ำเสมอโดยไม่น่าเชื่อ ธุรกิจพอนซีบางครั้งจะเริ่มตั้งตัวเป็นธุรกิจที่สมควรตามเหตุผล จนกระทั่งประสบความล้มเหลวที่จะได้ผลตอบแทนตามที่คาดหวัง แล้วธุรกิจก็จะกลายเป็นการฉ้อฉลแบบพอนซีถ้ายังดำเนินการต่อไปโดยแสดงผลตอบแทนที่ทำไม่ได้จริง ๆ ไม่ว่าสถานการณ์ตอนแรกจะเป็นอย่างไร การแสดงผลตอบแทนระดับสูงบังคับให้ต้องมีเงินลงทุนเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จากนักลงทุนใหม่ ๆ เพื่อจะดำรงธุรกิจ การฉ้อฉลเป็นแบบธุรกิจที่มีชื่อตามนายชาลส์ พอนซี่ ที่กลายเป็นผู้มีชื่อเสียงอื้อฉาวหลังจากที่ได้ใช้เทคนิคนี้ในปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กองทุนบริหารความเสี่ยงและการฉ้อฉลแบบพอนซี

กองทุนบริหารความเสี่ยงและการฉ้อฉลแบบพอนซี มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง กองทุนบริหารความเสี่ยงและการฉ้อฉลแบบพอนซี

กองทุนบริหารความเสี่ยง มี 1 ความสัมพันธ์ขณะที่ การฉ้อฉลแบบพอนซี มี 21 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (1 + 21)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กองทุนบริหารความเสี่ยงและการฉ้อฉลแบบพอนซี หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »