โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กองทัพที่ 6 (เวร์มัคท์)

ดัชนี กองทัพที่ 6 (เวร์มัคท์)

กองทัพที่ 6 เป็นกองทัพสนามของเวร์มัคท์ ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง กองทัพที่ 6 เป็นที่รู้จักจากการถูกทำลายโดยกองทัพแดง ที่ ยุทธการที่สตาลินกราด ในช่วงฤดูหนาวปี 1942/43 นอกจากนี้กองทัพที่ 6 ยังได้ก่ออาชญากรสงคราม (ชึ่งเป็นการสังหารหมู่ชาวยิว 30,000 คนที่ เบบียาร์) กองทัพที่ 6 อยู่ภายได้การปัญชาการโดยจอมพล วัลเทอร์ ฟอน ไรเชอเนา ในช่วง ปฏิบัติการบาร์บารอสซา ในปี 1941.

14 ความสัมพันธ์: ฟรีดริช เพาลุสกองทัพสนามกองทัพแดงยุทธการที่ฝรั่งเศสยุทธการที่สตาลินกราดยุทธการที่คาร์คอฟครั้งที่ 1ยุทธการที่คาร์คอฟครั้งที่ 2ยุทธการที่เบลเยียมยุทธการที่เคียฟ (ค.ศ. 1941)วัลเทอร์ ฟอน ไรเชอเนาสงครามโลกครั้งที่สองปฏิบัติการบาร์บารอสซาเบบียาร์เวร์มัคท์

ฟรีดริช เพาลุส

ฟรีดริช วิลเฮล์ม แอร์นสท์ เพาลุส (Friedrich Wilhelm Ernst Paulus; 23 กันยายน ค.ศ. 1890 - 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1957) เป็นนายทหารในกองทัพเยอรมันตั้งแต..

ใหม่!!: กองทัพที่ 6 (เวร์มัคท์)และฟรีดริช เพาลุส · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพสนาม

กองทัพสนาม (หรือเรียกสั้น ๆ ว่า กองทัพ) เป็นรูปขบวนทางทหารในกองทัพหลายประเทศ ประกอบด้วยกำลังพลสองกองทัพน้อยหรือกว่านั้น และอาจเป็นหน่วยรองของกลุ่มกองทัพ (army group) กองทัพสนามหนึ่งมีกำลังพลประมาณ 100,000 ถึง 150,000 นาย ปกติมีการตั้งชื่อหรือกำหนดหมายเลขแก่กองทัพสนามหนึ่ง ๆ เพื่อแยกแยะจาก "กองทัพบก" ที่หมายถึงกองทัพภาคพื้นดินทั้งหมดของประเทศ ในภาษาอังกฤษ ลีลาการตั้งชื่อกองทัพสนามใช้เลขคำ เช่น "กองทัพที่ 1" (First Army) ส่วนกองทัพน้อยปกติแยกโดยใช้เลขโรมัน เช่น กองทัพน้อยที่ 1 จะเขียนว่า "I Corps" และรูปขบวนหน่วยรองใช้จำนวนเชิงอันดับที่ เช่น "กองพลที่ 1" (1st Division) กองทัพสนามอาจได้รับชื่อภูมิศาสตร์นอกเหนือไปจากหรือแทนชื่อจำนวน เช่น กองทัพไรน์บริเตน กองทัพนีเมนหรือกองทัพอีเจียน (หรือกองทัพที่ 4) ในกองทัพบางประเทศ "กองทัพสนาม" เทียบเท่ากับหน่วยระดับกองทัพน้อย เช่นก่อนปี 2488 ในกรณีของกุน (軍) ในกองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่น ซึ่งเป็นรูปขบวนที่มีขนาดเทียบเท่ากับกองทัพสนาม คือ "กองทัพภาค" (方面軍 โฮเม็นกุน) ในกองทัพแดงโซเวียตและกองทัพอากาศโซเวียต ยามสงครามกองทัพสนามเป็นหน่วยรองของแนวรบ (ซึ่งเทียบเท่ากับกลุ่มกองทัพ) กองทัพสนามโซเวียตประกอบด้วยอย่างน้อยสามถึงห้ากองพล ร่วมกับหน่วยสนับสนุนปืนใหญ่ การป้องกันทางอากาศ ลาดตระเวนและหน่วยสนับสนุนอื่น อาจจำแนกได้เป็นกองทัพผสมเหล่า (combined arms army) หรือกองทัพรถถัง แม้ทั้งสองเป็นรูปขบวนผสมเหล่า กองทัพผสมเหล่ามีกองพลปืนยาวเคลื่อนที่ด้วยยานยนต์ ส่วนกองทัพรถถังมีกองพลรถถังจำนวนมาก ในยามสงบ กองทัพสนามโซเวียตปกติเป็นหน่วยรองของภาคทหาร (military district) หมวดหมู่:กองทัพสนาม.

ใหม่!!: กองทัพที่ 6 (เวร์มัคท์)และกองทัพสนาม · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพแดง

accessdate.

ใหม่!!: กองทัพที่ 6 (เวร์มัคท์)และกองทัพแดง · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่ฝรั่งเศส

ทธการที่ฝรั่งเศส ในสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นการบุกครองฝรั่งเศสและกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำของเยอรมนีที่สัมฤทธิ์ผล เริ่มตั้งแต่วันที่ 10 พฤษภาคม..

ใหม่!!: กองทัพที่ 6 (เวร์มัคท์)และยุทธการที่ฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่สตาลินกราด

ทธการสตาลินกราด เป็นยุทธการใหญ่ของสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งนาซีเยอรมนีและพันธมิตรฝ่ายหนึ่ง สู้รบกับสหภาพโซเวียตอีกฝ่ายหนึ่ง เพื่อแย่งชิงการควบคุมนครสตาลินกราด (ปัจจุบันคือ วอลโกกราด ทางตะวันตกเฉียงใต้ของสหพันธรัฐรัสเซีย) ยุทธการดำเนินไประหว่างวันที่ 21 สิงหาคม..

ใหม่!!: กองทัพที่ 6 (เวร์มัคท์)และยุทธการที่สตาลินกราด · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่คาร์คอฟครั้งที่ 1

ทธการที่คาร์คอฟครั้งที่ 1,ถูกตั้งชื่อโดย วิลเฮล์ม ไคเทิล, เป็นการรบทางยุทธศาตร์จากเมืองคาร์คอฟ(ปัจจุบันคือคาร์คิฟ)(สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน)ในปี..

ใหม่!!: กองทัพที่ 6 (เวร์มัคท์)และยุทธการที่คาร์คอฟครั้งที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่คาร์คอฟครั้งที่ 2

ทธการที่คาร์คอฟครั้งที่ 2 เป็นการโจมตีตอบโต้ของฝ่ายอักษะในภูมิภาครอบๆของเมืองคาร์คอฟ (ปัจจุบันคือคาร์คิฟ) ต่อสู้กับกองทัพแดงที่หัวสะพาน Izium การรุกได้ปฏิบัติการเมื่อวันที่ 12-28 พฤษภาคม ปี..

ใหม่!!: กองทัพที่ 6 (เวร์มัคท์)และยุทธการที่คาร์คอฟครั้งที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่เบลเยียม

ทธการที่เบลเยียมหรือการทัพเบลเยียม,มักเรียกกันภายในของประเทศเบลเยียมว่า การทัพ 18 วัน (Campagne des 18 jours, Achttiendaagse Veldtocht) เป็นส่วนหนึ่งของยุทธการที่ฝรั่งเศส,การทัพรุกรานโดยเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง.มันเกิดขึ้นในช่วงเพียง 18 วันในเดือนพฤษภาคม ปี 1940 และสิ้นสุดลงด้วยเบลเยียมถูกยึดครองโดยเยอรมันภายหลังจากการยอมจำนนของกองทัพเบลเยียม.

ใหม่!!: กองทัพที่ 6 (เวร์มัคท์)และยุทธการที่เบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่เคียฟ (ค.ศ. 1941)

ทธการเคียฟครั้งที่หนึ่ง เป็นยุทธการที่เป็นการปิดล้อมทหารโซเวียตขนาดใหญ่โดยเยอรมันในแถบรอบเมืองเคียฟในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งการล้อมนี้ถือว่ายาวที่สุดในประวัติศาสตร์การรบ (จากจำนวนทหาร) ปฏิบัติการเริ่มต้นตั้งแต่ 7 สิงหาคม ถึง 26 กันยายน..

ใหม่!!: กองทัพที่ 6 (เวร์มัคท์)และยุทธการที่เคียฟ (ค.ศ. 1941) · ดูเพิ่มเติม »

วัลเทอร์ ฟอน ไรเชอเนา

วัลเทอร์ คาร์ล แอนสท์ เอากุสท์ ฟอน ไรเชอเนา (Walter Karl Ernst August von Reichenau) เป็นจอมพลแห่งกองทัพบกของนาซีเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เขาเป็นบัญชาการกองทัพที่หกในปฏิบัติการบาร์บารอสซาระหว่างการรุกรานสหภาพโซเวียตใน..

ใหม่!!: กองทัพที่ 6 (เวร์มัคท์)และวัลเทอร์ ฟอน ไรเชอเนา · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี. เคลล็อก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา; ส่วนคำว่า "World War II" พบใช้เป็นครั้งแรกในนิตยสาร ไทมส์ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1939 ซึ่งเป็นผู้ประดิษฐ์คำว่า "World War I" ขึ้นในอีกสามเดือนต่อมา; มักย่อเป็น WWII หรือ WW2) เป็นสงครามทั่วโลกกินเวลาตั้งแต่ปี 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งรัฐมหาอำนาจทั้งหมด แบ่งเป็นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ เป็นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง สงครามนี้มีลักษณะเป็น "สงครามเบ็ดเสร็จ" คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ทั้งหมดเพื่อความพยายามของสงคราม โดยลบเส้นแบ่งระหว่างทรัพยากรของพลเรือนและทหาร ประเมินกันว่าสงครามมีมูลค่าราว 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตระหว่าง 50 ถึง 85 ล้านคน ด้วยประการทั้งปวง สงครามโลกครั้งที่สองจึงนับว่าเป็นสงครามขนาดใหญ่ที่สุด ใช้เงินทุนมากที่สุด และมีผู้เสียชีวิตสูงสุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ จักรวรรดิญี่ปุ่นซึ่งมีเป้าหมายครอบงำทวีปเอเชียและแปซิฟิกและทำสงครามกับจีนมาตั้งแต่ปี 1937 แล้ว แต่โดยทั่วไปถือว่าสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มตั้งแต่การบุกครองโปแลนด์ของเยอรมนีในวันที่ 1 กันยายน 1939 นำไปสู่การประกาศสงครามต่อเยอรมนีของประเทศฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปลายปี 1939 ถึงต้นปี 1941 ในการทัพและสนธิสัญญาต่าง ๆ ประเทศเยอรมนีพิชิตหรือควบคุมยุโรปภาคพื้นทวีปได้ส่วนใหญ่ และตั้งพันธมิตรอักษะกับอิตาลีและญี่ปุ่น ภายใต้สนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพเมื่อเดือนสิงหาคม 1939 เยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแลผนวกดินแดนประเทศเพื่อนบ้านยุโรปของตน ได้แก่ โปแลนด์ ฟินแลนด์ โรมาเนียและรัฐบอลติก สงครามดำเนินต่อส่วนใหญ่ระหว่างชาติฝ่ายอักษะยุโรปและแนวร่วมสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพบริติช โดยมีการทัพอย่างการทัพแอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันออก ยุทธการที่บริเตนซึ่งเป็นการสู้รบทางอากาศ การทัพทิ้งระเบิดเดอะบลิตซ์ การทัพบอลข่าน ตลอดจนยุทธการที่แอตแลนติกที่ยืดเยื้อ ในเดือนมิถุนายน 1941 ชาติอักษะยุโรปบุกครองสหภาพโซเวียต เปิดฉากเขตสงครามภาคพื้นดินที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้กำลังทหารสำคัญของฝ่ายอักษะตกอยู่ในสงครามบั่นทอนกำลัง ในเดือนธันวาคม 1941 ญี่ปุ่นโจมตีสหรัฐและอาณานิคมยุโรปในมหาสมุทรแปซิฟิก และพิชิตมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกส่วนมากได้อย่างรวดเร็ว การรุกของฝ่ายอักษะยุติลงในปี 1942 หลังญี่ปุ่นปราชัยในยุทธนาวีที่มิดเวย์ใกล้กับฮาวายที่สำคัญ และเยอรมนีปราชัยในแอฟริกาเหนือและจากนั้นที่สตาลินกราดในสหภาพโซเวียต ในปี 1943 จากความปราชัยของเยอรมนีติด ๆ กันที่เคิสก์ในยุโรปตะวันออก การบุกครองอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนำให้อิตาลียอมจำนน จนถึงชัยของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ฝ่ายอักษะเสียการริเริ่มและต้องล่าถอยทางยุทธศาสตร์ในทุกแนวรบ ในปี 1944 ฝ่ายสัมพันธมิตรบุกครองฝรั่งเศสในการยึดครองของเยอรมนี ขณะเดียวกันกับที่สหภาพโซเวียตยึดดินแดนที่เสียไปทั้งหมดคืนและบุกครองเยอรมนีและพันธมิตร ระหว่างปี 1944 และ 1945 ญี่ปุ่นปราชัยสำคัญในทวีปเอเชียในภาคกลางและภาคใต้ของจีนและพม่า ขณะที่ฝ่ายสัมพันธมิตรก่อความเสียหายต่อกองทัพเรือญี่ปุ่นและยึดหมู่เกาะแปซิฟิกตะวันตกที่สำคัญ สงครามในยุโรปยุติลงหลังกองทัพแดงยึดกรุงเบอร์ลินได้ และการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของเยอรมนีเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1945 แม้จะถูกโดดเดี่ยวและตกอยู่ในสภาพเสียเปรียบอย่างยิ่ง ญี่ปุ่นยังปฏิเสธที่จะยอมจำนน กระทั่งมีการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์สองลูกถล่มญี่ปุ่น และการบุกครองแมนจูเรีย จึงได้นำไปสู่การยอมจำนนอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 1945 สงครามยุติลงด้วยชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร ผลของสงครามได้เปลี่ยนแปลงการวางแนวทางการเมืองและโครงสร้างสังคมของโลก สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งในอนาคต สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตก้าวเป็นอภิมหาอำนาจของโลกอันเป็นคู่ปรปักษ์กัน นำไปสู่ความขัดแย้งบนเวทีแห่งสงครามเย็น ซึ่งได้ดำเนินต่อมาอีก 46 ปีหลังสงคราม ขณะเดียวกัน การยอมรับหลักการการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง เร่งให้เกิดการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องเอกราชในทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา พร้อม ๆ กับที่หลายประเทศได้มุ่งหน้าฟื้นฟูเศรษฐกิจซึ่งอุตสาหกรรมได้รับความเสียหายระหว่างสงคราม และบูรณาการทางการเมืองได้เกิดขึ้นทั่วโลกในความพยายามที่จะรักษาเสถียรภาพความสัมพันธ์หลังสงคราม.

ใหม่!!: กองทัพที่ 6 (เวร์มัคท์)และสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการบาร์บารอสซา

ปฏิบัติการบาร์บารอสซา (Unternehmen Barbarossa, Operation Barbarossa, รัสเซีย: Оперенация Барбарросса) เป็นชื่อรหัสสำหรับแผนการบุกสหภาพโซเวียตของนาซีเยอรมนี ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ปฏิบัติการดังกล่าวเริ่มต้นขึ้นในวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 1941 ชื่อปฏิบัติการบาร์บารอสซาถูกตั้งชื่อตามพระนามของจักรพรรดิฟรีดริช บาร์บารอสซา แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ผู้นำสงครามครูเสดครั้งที่สาม ในช่วงคริสต์ศตวรรรษที่ 12 วัตถุประสงค์ของปฏิบัติการนี้ คือ การพิชิตสหภาพโซเวียตทางภาคพื้นยุโรปทั้งหมด ซึ่งถือเอาแนวที่ลากเส้นระหว่าง อัคอังเกลส์ก (Arkangelsk) ที่อยู่ทางตอนเหนือของรัสเซีย ลงไปจนถึงเมืองอัสตราคาน (Astrakhan) ที่อยู่ริมสามเหลี่ยมปากแม่น้ำวอลกา โดยแนวนี้ถูกเรียกว่าแนว AA ปฏิบัติการบาร์บารอสซาไม่ประสบความสำเร็จอย่างที่ฮิตเลอร์คาดหวังไว้ ในทางยุทธวิธีแล้ว กองทัพเยอรมันก่อให้เกิดความเสียหายใหญ่หลวงต่อสหภาพโซเวียต โดยการยึดครองพื้นที่เศรษฐกิจสำคัญของประเทศเอาไว้ อย่างไรก็ตาม ไม่นานหลังจากปฏิบัติการบาร์บารอสซา กองทัพเยอรมันไม่อาจเป็นฝ่ายบุกในแนวรบด้านตะวันออกอีกต่อไป และหลังจากนั้น ก็ประสบความพ่ายแพ้มาตลอดMilitary-Topographic Directorate, maps No.

ใหม่!!: กองทัพที่ 6 (เวร์มัคท์)และปฏิบัติการบาร์บารอสซา · ดูเพิ่มเติม »

เบบียาร์

ียาร์ (Бабин Яр, Babyn Yar; Бабий Яр, Babiy Yar) เป็นหุบเหวลึกในเคียฟ เมืองหลวงของประเทศยูเครนและเป็นสถานที่ในการสังหารหมู่โดยกองทัพเยอรมันและชนท้องถิ่นที่ให้ความร่วมมือในช่วงสงคราม เพื่อต่อกรกับสหภาพโซเวียต ด้วยชื่อเสียงที่โด่งดังมากที่สุดและได้รับการจดบันทึกไว้อย่างดีที่สุดของการสังหารหมู่ครั้งนี้ เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 29-30 กันยายน..

ใหม่!!: กองทัพที่ 6 (เวร์มัคท์)และเบบียาร์ · ดูเพิ่มเติม »

เวร์มัคท์

วร์มัคท์ (Wehrmacht ความหมาย:"กำลังป้องกัน") เป็นกองทัพของนาซีเยอรมนีระหว่าง..

ใหม่!!: กองทัพที่ 6 (เวร์มัคท์)และเวร์มัคท์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

6th Army (Wehrmacht)

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »