โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กษัตริยาและสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง กษัตริยาและสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ

กษัตริยา vs. สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ

กษัตริยา เป็นละครโทรทัศน์อิงประวัติศาสตร์ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ช่วงสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ (พระเทียรราชา) เมื่อสมเด็จพระสุริโยทัย พระชายา สิ้นพระชนม์ในการยุทธหัตถีกับพม่า จนถึงการกอบกู้เอกราชของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช โดยทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี เป็นองค์นำแสดงในบทพระวิสุทธิกษัตรีย์ มีความยาวในการออกอากาศถึง 260 ตอน โดยแบ่งเป็น 2 ภาค คือ ภาค "กษัตริยา" เป็นเรื่องราวของพระวิสุทธิกษัตรีย์ และพระสุพรรณกัลยา และภาค "อธิราชา" หรือ มหาราชกู้แผ่นดิน เป็นเรื่องราวของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช โดยเป็นละครที่สร้างขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในวโรกาสเจริญพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ จากโครงเรื่องของทมยันตี ผลิตโดย กันตนา ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546 ถึง กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 โดยเป็นละครโทรทัศน์เรื่องแรกที่ใช้โรงถ่าย กันตนา มูฟวี่ ทาวน์ ศาลายา จังหวัดนครปฐม ด้วยงบประมาณการสร้างละครถึง 300 ล้านบาท เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ได้นำละครเรื่องนี้มาออกอากาศซ้ำ ทางสถานีโทรทัศน์เคเบิลและดาวเทียม มิราเคิล ของกันตน. มเด็จพระมหาจักรพรรดิราชาธิราชเจ้า (พระนามเดิม พระเทียรราชา) พระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 15 แห่งอาณาจักรอยุธยา เป็นพระมหากษัตริย์ที่ได้รับการยกย่องว่ามีบุญญาธิการมากเพราะทรงมีช้างเผือกในครอบครองถึง 7 ช้าง จนได้รับการขนานพระนามว่า พระเจ้าช้างเผือก ในรัชกาลนี้ เป็นช่วงเปลี่ยนผ่านทางการเมืองจากคราวขุนวรวงศาธิราช สภาพบ้านเมืองไม่ได้สงบสุขเท่าที่ควร มีเหตุการณ์ความไม่สงบทั้งภายในและภายนอก โดยเฉพาะสงครามกับกรุงหงสาวดี.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กษัตริยาและสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ

กษัตริยาและสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ มี 14 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พระวิสุทธิกษัตรีย์พระสุริโยทัยพระเจ้าบุเรงนองพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้พระเทพกษัตรีย์สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชสมเด็จพระมหินทราธิราชสมเด็จพระยอดฟ้าสมเด็จพระไชยเชษฐาธิราชสมเด็จพระเอกาทศรถอาณาจักรล้านช้างอาณาจักรอยุธยาจังหวัดเชียงใหม่ประเทศพม่า

พระวิสุทธิกษัตรีย์

ระวิสุทธิกษัตรีย์พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, หน้า 71 หรือคำให้การชาวกรุงเก่าออกพระนามว่าพระบรมเทวีคำให้การชาวกรุงเก่า, พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, หน้า 497 มีพระนามเดิมว่า สมเด็จพระเจ้าลูกเธอพระสวัสดิราชธิดา เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ประสูติแต่พระสุริโยทัย ภายหลังได้รับการสถาปนาเป็นพระอัครมเหสีในสมเด็จพระมหาธรรมราชา และเป็นพระราชชนนีในพระสุพรรณกัลยา สมเด็จพระนเรศวรมหาราช และสมเด็จพระเอกาทศร.

กษัตริยาและพระวิสุทธิกษัตรีย์ · พระวิสุทธิกษัตรีย์และสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ · ดูเพิ่มเติม »

พระสุริโยทัย

ระสุริโยทัย หรือคำให้การชาวกรุงเก่าออกพระนามว่าพระมหาเทวี เป็นพระอัครมเหสีในสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ พระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 15 ของอาณาจักรอยุธยาสมัยราชวงศ์สุพรรณภูมิ พระสุริโยทัยตามพงศาวดารหลวงประเสริฐฯ กล่าวเพียงแค่เป็นอัครมเหสีผู้เสียสละพระชนม์ชีพเพื่อปกป้องพระราชสวามีในสงครามพระเจ้าตะเบ็งชเวตี้ ในปี พ.ศ. 2091 พงศาวดารบางฉบับ กล่าวว่า พระสุริโยทัยเป็นเจ้านายเชื้อสายราชวงศ์พระร่วงเจ้ากรุงสุโขทัย โดยมิได้กล่าวรายละเอียดใดมากกว่านี้ ไทยยกย่องว่าเป็นวีรสตรีจากวีรกรรมยุทธหัตถีกับพระเจ้าแปรในสงครามพระเจ้าตะเบ็งชเวตี้.

กษัตริยาและพระสุริโยทัย · พระสุริโยทัยและสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบุเรงนอง

ระเจ้าบุเรงนอง หรือพระนามเต็มว่า พระเจ้าบุเรงนองกะยอดินนรธา (Bayinnaung Kyawhtin Nawrahta, ဘုရင့်နောင် ကျော်ထင်နော်ရထာ บะยิ่นเหน่าง์จ่อถิ่นหน่อยะถ่า; 16 มกราคม 2059 – 10 พฤศจิกายน 2124) หรือ พระเจ้าหงษานีพัตร เป็นพระมหากษัตริย์พม่าจากราชวงศ์ตองอู เสวยราชย์ตั้งแต่ปี..

กษัตริยาและพระเจ้าบุเรงนอง · พระเจ้าบุเรงนองและสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้

ระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ หรือ ตะเบ็งเฉวฺ่ที (Tabinshwehti, တပင်ရွှေထီး; สำเนียงพม่าออกว่า "ตะเบ็งเฉวฺ่ที") เป็นพระมหากษัตริย์พม่ารัชกาลที่ 2 ในราชวงศ์ตองอู เป็นพระราชโอรสเพียงพระองค์เดียวในพระเจ้าเมงจีโย ซึ่งเป็นปฐมกษัตริย์ของราชวงศ์ตองอู.

กษัตริยาและพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ · พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้และสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ · ดูเพิ่มเติม »

พระเทพกษัตรีย์

มเด็จพระเจ้าลูกเธอพระเทพกษัตรีย์พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, หน้า 102-104 หรือ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอพระเทพกษัตรเจ้าฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิต.

กษัตริยาและพระเทพกษัตรีย์ · พระเทพกษัตรีย์และสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช

มเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชเจ้า หรือ สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 1 พระมหากษัตริย์ไทยผู้สถาปนาราชวงศ์สุโขทัยสมัยอาณาจักรอ.

กษัตริยาและสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช · สมเด็จพระมหาจักรพรรดิและสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระมหินทราธิราช

มเด็จพระมหินทราธิราช พระนามเดิมว่า พระมหินทราธิราช เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 16 แห่งอาณาจักรอยุธยา พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ ระบุว่าพระองค์ไม่เอาพระทัยใส่การศึก ทำให้การรักษาพระนครอ่อนแอลงจนเสียกรุงครั้งที่หนึ่ง.

กษัตริยาและสมเด็จพระมหินทราธิราช · สมเด็จพระมหาจักรพรรดิและสมเด็จพระมหินทราธิราช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระยอดฟ้า

มเด็จพระยอดฟ้า หรือ สมเด็จพระแก้วฟ้า (ประมาณ พ.ศ. 2079นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย, หน้า 97 – 10 มิถุนายน พ.ศ. 2091นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย, หน้า 98) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 14 แห่งกรุงศรีอยุธยาจากราชวงศ์สุพรรณภูมิ สมเด็จพระยอดฟ้าเป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระไชยราชาธิราชกับแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม), หน้า 63-7 เสวยราชย์ตั้งแต..

กษัตริยาและสมเด็จพระยอดฟ้า · สมเด็จพระมหาจักรพรรดิและสมเด็จพระยอดฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช

ระอุปภัยพุทธบวรไชยเชษฐาธิราช หรือที่รู้จักกันดีในพระนาม สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช (ໄຊເສດຖາ, ເສດຖາທິຣາດ; 80px) ถือเป็นพระมหากษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดพระองค์หนึ่งของชาติลาว ทรงเป็นผู้นำแห่งอาณาจักรล้านช้าง ผู้สถาปนากรุงเวียงจันทน์ให้เป็นศูนย์กลางอารยธรรม และเป็นศูนย์รวมศิลปะวัฒนธรรมต่าง ๆ ของอาณาจักรล้านช้างเข้าไว้ด้วยกัน ประวัติศาสตร์สันนิษฐานว่าพระองค์เป็นพระญาติหรือพระนัดดาในพระนางจิรประภาเทวีเจ้านางหลวงแห่งอาณาจักรล้านนา ในรัชสมัยพระยาโพธิสาลราช (พ.ศ. 2063-2090) พระองค์เป็นผู้เคร่งครัดทางศาสนาพุทธเป็นอย่างยิ่ง ได้มีพระราชโองการให้พลเมืองเลิกนับถือผีสางเทวดา เลิกการทรงเจ้าเข้าผีทั่วพระราชอาณาจักร ให้รื้อศาลหลวง ศาลเจ้าผีเสื้อเมืองทรงเมือง และให้หันมานับถือพระพุทธศาสนาแทน ทรงสร้างวัดสุวรรณเทวโลกเพื่อเป็นสัญลักษณ์แห่งพระพุทธศาสนา แต่เนื่องจากประเพณีการนับถือผีนั้นมีมาช้านาน และได้ฝังเข้าไปในจิตใจของประชาชนทั่วไป จึงยากที่จะเลิกอย่างเด็ดขาดได้ ครั้นต่อมาทางอาณาจักรล้านนาว่างกษัตริย์ปกครอง จึงได้อัญเชิญเจ้าไชยเชษโฐหรือเชษฐวังโส พระโอรสของพระเจ้าโพธิสาร ไปครองนครล้านนา เมื่อปี..

กษัตริยาและสมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช · สมเด็จพระมหาจักรพรรดิและสมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเอกาทศรถ

มเด็จพระเอกาทศรถ หรือ สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 3 เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 19 แห่งอาณาจักรอยุธยาสมัยราชวงศ์สุโขทั.

กษัตริยาและสมเด็จพระเอกาทศรถ · สมเด็จพระมหาจักรพรรดิและสมเด็จพระเอกาทศรถ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรล้านช้าง

อาณาจักรล้านช้าง (ອານາຈັກລ້ານຊ້າງ) เป็นอาณาจักรของชนชาติลาวซึ่งตั้งอยู่ในแถบลุ่มแม่น้ำโขง มีอาณาเขตอยู่ในบริเวณประเทศลาวทั้งหมด ตลอดจนพื้นที่บางส่วนทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย โดยมีความเจริญรุ่งเรืองทั้งการเมืองการปกครอง ด้านศิลปวัฒนธรรม ตลอดจนพระพุทธศาสนา ที่มีพัฒนาการเคียงคู่มาพร้อมกันอาณาจักรอื่น ๆ ใกล้เคียง ทั้งล้านนา สยาม พม่า และเขมร อาณาจักรแห่งนี้ได้สถาปนาขึ้นอย่างเป็นปึกแผ่นมั่งคงอย่างแท้จริงในปี พ.ศ. 1896 สมัยพระเจ้าฟ้างุ้ม มีความรุ่งเรืองสลับกับความร่วงโรยต่อมาหลายสมัย ซึ่งยุคที่นับได้ว่าเป็นยุคทองของอาณาจักรล้านช้างคือรัชสมัยของพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช (พ.ศ. 2091- พ.ศ. 2114 และรัชสมัยพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช (พ.ศ. 2181- พ.ศ. 2238) หลังจากนั้นอาณาจักรลาวก็เสื่อมอำนาจลงและแตกแยกเป็น 3 ราชอาณาจักร และในปี พ.ศ. 2321 ทั้ง 3 อาณาจักรก็ได้สูญเสียเอกราชแก่ราชอาณาจักรสยามในที.

กษัตริยาและอาณาจักรล้านช้าง · สมเด็จพระมหาจักรพรรดิและอาณาจักรล้านช้าง · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอยุธยา

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310 มีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางอำนาจหรือราชธานี ทั้งยังมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการค้าในระดับนานาชาติ เช่น จีน เวียดนาม อินเดีย ญี่ปุ่น เปอร์เซีย รวมทั้งชาติตะวันตก เช่น โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ (ฮอลันดา) อังกฤษ และฝรั่งเศส ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งเคยสามารถขยายอาณาเขตประเทศราชถึงรัฐฉานของพม่า อาณาจักรล้านนา มณฑลยูนนาน อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรขอม และคาบสมุทรมลายูในปัจจุบัน.

กษัตริยาและอาณาจักรอยุธยา · สมเด็จพระมหาจักรพรรดิและอาณาจักรอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเชียงใหม่

ังหวัดเชียงใหม่ (40px เจียงใหม่) เป็นจังหวัดหนึ่งของไทย ตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 20,107 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ มีประชากร 1,746,840 คน มากเป็นอันดับ 5 ของประเทศ ในจำนวนนี้เป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองและชานเมือง 960,906 คน โดยจังหวัดเชียงใหม่ทิศเหนือติดต่อกับรัฐฉานของเมียนมา จังหวัดเชียงใหม่ จัดเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สองของประเทศไทย รองจากกรุงเทพมหานคร โดยแบ่งการปกครองออกเป็น 25 อำเภอ โดยมีอำเภอเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เมื่อ พ.ศ. 2552 มีการจัดตั้งอำเภอกัลยาณิวัฒนาเป็นอำเภอลำดับที่ 25 ของจังหวัด และลำดับที่ 878 ของประเทศ ซึ่งเป็นอำเภอล่าสุดของไทย จังหวัดเชียงใหม่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรล้านนาแต่โบราณ มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านประเพณีวัฒนธรรม และมีแหล่งท่องเที่ยวจำนวนมาก โดยเริ่มวางตัวเป็นนครสร้างสรรค์ และได้รับการประกาศเป็นเมืองสร้างสรรค์ของโลกทางด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน เมื่อปี พ.ศ. 2560 ปัจจุบันกำลังพิจารณาสมัครเมืองมรดกโลกจากองค์การยูเนสโก.

กษัตริยาและจังหวัดเชียงใหม่ · จังหวัดเชียงใหม่และสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศพม่า

ม่า หรือ เมียนมา (မြန်မာ,, มฺยะหฺม่า) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า หรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (ပြည်ထောင်စု သမ္မတ မြန်မာနိုင်ငံတော်, ปหฺยี่เด่าง์ซุ ตัมมะดะ มฺยะหฺม่า ไหฺน่หฺงั่นด่อ) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกับอินเดีย บังกลาเทศ จีน ลาว และไทย หนึ่งในสามของพรมแดนพม่าที่มีความยาว 1,930 กิโลเมตรเป็นแนวชายฝั่งตามอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน ด้วยพื้นที่ 676,578 ตารางกิโลเมตร ประเทศพม่าเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 40 ของโลก และใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำมะโนของประเทศในปี 2557 เผยว่าประเทศพม่ามีประชากรน้อยกว่าที่คาดการณ์ โดยมีบันทึกประชากร 51 ล้านคน มีเมืองหลวง คือ กรุงเนปยีดอ และนครใหญ่สุด คือ ย่างกุ้ง อารยธรรมช่วงต้นของประเทศพม่ามีนครรัฐปยูที่พูดภาษาตระกูลทิเบต-พม่าในพม่าตอนบน และราชอาณาจักรมอญในพม่าตอนล่าง ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ชาวพม่าได้เข้าครอบครองบริเวณลุ่มแม่น้ำอิรวดีตอนบน และสถาปนาราชอาณาจักรพุกามในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1050 ภาษาและวัฒนธรรมพม่าพร้อมด้วยศาสนาพุทธนิกายเถรวาทค่อย ๆ ครอบงำในประเทศ อาณาจักรพุกามล่มสลายเพราะการบุกครองของมองโกลและรัฐหลายรัฐกำเนิดขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ราชวงศ์ตองอูสร้างเอกภาพอีกครั้ง และช่วงสั้น ๆ เป็นจักรวรรรดิใหญ่สุดในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต้นศตวรรษที่ 19 ราชวงศ์คองบองได้ปกครองพื้นที่ประเทศพม่าและควบคุมมณีปุระและอัสสัมในช่วงสั้น ๆ ด้วย บริติชพิชิตพม่าหลังสงครามอังกฤษ-พม่าทั้งสามครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และประเทศกลายเป็นอาณานิคมบริติช ประเทศพม่าได้รับเอกราชใน..

กษัตริยาและประเทศพม่า · ประเทศพม่าและสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง กษัตริยาและสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ

กษัตริยา มี 84 ความสัมพันธ์ขณะที่ สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ มี 73 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 14, ดัชนี Jaccard คือ 8.92% = 14 / (84 + 73)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กษัตริยาและสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »