ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กวน มึน โฮและหนึ่งธิดา โสภณ
กวน มึน โฮและหนึ่งธิดา โสภณ มี 7 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): บรรจง ปิสัญธนะกูลพ.ศ. 2553รักไม่ต้องการเวลาหนึ่งธิดา โสภณจีเอ็มเอ็ม ไท หับฉันทวิชช์ ธนะเสวีประเทศไทย
บรรจง ปิสัญธนะกูล
รรจง ปิสัญธนะกูลหรือ โต้ง เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ชาวไทยที่โด่งดังจากภาพยนตร์เรื่อง ชัตเตอร์ กดติดวิญญาณที่เขาร่วมงานกับภาคภูมิ วงศ์ภูมิ ซึ่งเป็นผลงานที่แจ้งเกิดบรรจงในฐานะผู้กำกับภาพยนตร์สยองขวัญหน้าใหม่ของไทยเนื่องภาพยนตร์เรื่อง ชัตเตอร์ กดติดวิญญาณทำรายได้มากถึง 120 ล้านบาท ทำให้บรรจงและภาคภูมิก้าวสู่วงการหนังสยองขวัญอย่างเต็มตัว หลังจากนั้นบรรจงได้มีภาพยนตร์สยองขัวญอีกมากมายที่เขาร่วมกำกับได้แก่ แฝด สี่แพร่งตอนคนกลาง ห้าแพร่งตอนคนกอง ซึ่งแต่ละเรื่องล้วนทำรายได้มากมายทั้งสิ้น.
กวน มึน โฮและบรรจง ปิสัญธนะกูล · บรรจง ปิสัญธนะกูลและหนึ่งธิดา โสภณ ·
พ.ศ. 2553
ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.
กวน มึน โฮและพ.ศ. 2553 · พ.ศ. 2553และหนึ่งธิดา โสภณ ·
รักไม่ต้องการเวลา
"รักไม่ต้องการเวลา" เป็นซิงเกิลของวงดนตรีเคลียร์ สังกัดค่ายจีนี่เรคคอร์ดส จากอัลบั้มชุดที่ 2 ไบรเทอร์เดย์ ประพันธ์เนื้อร้องโดยเกี้ยวเกล้า พูนชัย ทำนองโดยดนัย ธงสินธุศักดิ์ มิวสิควิดีโอเพลงนี้นี้เผยแพร่ในวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 ทางช่อง Genierock สื่อถึงการให้หลายๆ คนกลับไปมองคนข้างๆ ของตัวเอง รักเขาให้มากๆ และขอให้มีความสุขกับสิ่งที่ดีที่สุด ในปี พ.ศ. 2553 เพลง "รักไม่ต้องการเวลา" เป็นเพลงประกอบภาพยนตร์เรื่อง กวน มึน โฮ ของค่ายจีทีเอช ขับร้องโดยหนึ่งธิดา โสภณ นักร้องและนักแสดงนำ เรียบเรียงใหม่โดยวัฒนกร ศรีวัง มิวสิควิดีโอเผยแพร่ในวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2553.
กวน มึน โฮและรักไม่ต้องการเวลา · รักไม่ต้องการเวลาและหนึ่งธิดา โสภณ ·
หนึ่งธิดา โสภณ
หนึ่งธิดา โสภณ ชื่อเล่น หนูนา (8 พฤษภาคม พ.ศ. 2535) เป็นนักแสดงชาวไทย ที่มีชื่อเสียงจากการแสดงภาพยนตร์เรื่อง กวน มึน โฮ และได้รับรางวัลสุพรรณหงส์ สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม ปี 2553 จากภาพยนตร์ดังกล่าว.
กวน มึน โฮและหนึ่งธิดา โสภณ · หนึ่งธิดา โสภณและหนึ่งธิดา โสภณ ·
จีเอ็มเอ็ม ไท หับ
ีเอ็มเอ็ม ไท หับ หรือที่นิยมเรียกตามชื่อย่อว่า จีทีเอช เป็นอดีตบริษัทผู้ผลิตและจำหน่ายภาพยนตร์ไทย ในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จีทีเอชเกิดขึ้นหลังจากจีเอ็มเอ็ม พิคเจอร์, ไท เอ็นเตอร์เทนเมนต์ และ ร่วมกันสร้างภาพยนตร์เรื่อง แฟนฉัน เมื่อปี พ.ศ. 2546 และประสบความสำเร็จเป็นอย่างสูง จึงรวมตัวเป็นบริษัทเดียวกัน ต่อมา ภาพยนตร์ของจีทีเอชได้รับความนิยมชมชอบและทำรายได้ดีแทบทุกเรื่อง เช่น ชัตเตอร์ กดติดวิญญาณ, ห้าแพร่ง, รถไฟฟ้า มาหานะเธอ, กวน มึน โฮ, ลัดดาแลนด์, ATM เออรัก เออเร่อ, พี่มากพระโขนง, คิดถึงวิทยา, ไอฟาย..แต๊งกิ้ว..เลิฟยู้ เป็นต้น นอกจากภาพยนตร์แล้ว จีทีเอชยังผลิตละคร ซิตคอม และซีรีส์อีกด้วย อาทิ ซิทคอมตระกูลเนื้อคู่, หมวดโอภาส ยอดมือปราบคดีพิศวง, Hormones วัยว้าวุ่น, เพื่อนเฮี้ยน..โรงเรียนหลอน, น้ำตากามเทพ, มาลี เพื่อนรัก..พลังพิสดาร อีกทั้งมีผลงานคอนเสิร์ตและละครเวทีอีกด้วย เช่น Feel Good Music & Movie Concert (ฉลอง 3 ปี จีทีเอช), GTH Day: Play It Forward Concert (ฉลอง 7 ปี จีทีเอช), ละครเวที ลำซิ่งซิงเกอร์, STAR THEQUE GTH 11 ปีแสงคอนเสิร์ต.
กวน มึน โฮและจีเอ็มเอ็ม ไท หับ · จีเอ็มเอ็ม ไท หับและหนึ่งธิดา โสภณ ·
ฉันทวิชช์ ธนะเสวี
ฉันธวิชญ์ ธนะเสวี (เกิด 18 กันยายน พ.ศ. 2526) ชื่อเล่น เต๋อ เป็นนักแสดงชาวไทย จบการศึกษาระดับมัธยมจากโรงเรียนทิวไผ่งาม และจบปริญญาตรีจากจุฬาลงกรณ์ คณะนิเทศศาสตร์ สาขาภาพยนตร์และภาพนิ่ง และมีผลงานละครเวทีของคณะตั้งแต่ปี 2544–2547 หลังจากจบการศึกษา ทำงานฟรีแลนซ์เป็นผู้เขียนบท ผู้ช่วยผู้กำกับ ตากล้องเบื้องหลัง และแอ็กติงโค้ชให้กับค่าย GDH จนมาได้แสดงเป็นตัวเอกในภาพยนตร์เรื่อง ปิดเทอมใหญ่ หัวใจว้าวุ่น รับบทเป็น เหิร และมีผลงานเรื่องต่อมาคือเรื่อง โปรแกรมหน้า วิญญาณอาฆาต แสดงร่วมกับวรกาญจน์ โรจนวัชร และในปี..
กวน มึน โฮและฉันทวิชช์ ธนะเสวี · ฉันทวิชช์ ธนะเสวีและหนึ่งธิดา โสภณ ·
ประเทศไทย
ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ กวน มึน โฮและหนึ่งธิดา โสภณ มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง กวน มึน โฮและหนึ่งธิดา โสภณ
การเปรียบเทียบระหว่าง กวน มึน โฮและหนึ่งธิดา โสภณ
กวน มึน โฮ มี 33 ความสัมพันธ์ขณะที่ หนึ่งธิดา โสภณ มี 97 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 7, ดัชนี Jaccard คือ 5.38% = 7 / (33 + 97)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กวน มึน โฮและหนึ่งธิดา โสภณ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: