โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องผ่านและความหนาแน่น

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องผ่านและความหนาแน่น

กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องผ่าน vs. ความหนาแน่น

กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่าน ปีค.ศ.1960 กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่าน (TEM) (Transmission Electron microscope) ประดิษฐ์ขึ้นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2474 โดยเอิร์นท์ รุสกา และคณะ โดยวัตถุที่นำมาส่องต้องมีขนาดเล็ก และเฉือนให้บางมาก ๆ ประมาณ 60 ถึง 90 ไมโครเมตร เหมาะสำหรับการศึกษาโครงสร้างภายในของเซลล์ ภาพที่ปรากฏบนจอเรืองแสงเป็นภาพ 2 มิติ มีกำลังขยายสูงมากถึง 500,000 ถึง 1,000,000 เท่า นอกจากจะใช้ศึกษาสิ่งมีชีวิต ยังใช้สำหรับส่องรูปผลึกของสารต่าง ๆ ในการวิเคราะห์ทางเคมีได้. วามหนาแน่น (อังกฤษ: density, สัญลักษณ์: ρ อักษรกรีก โร) เป็นการวัดมวลต่อหนึ่งหน่วยปริมาตร ยิ่งวัตถุมีความหนาแน่นมากขึ้น มวลต่อหน่วยปริมาตรก็ยิ่งมากขึ้น กล่าวอีกนัยหนึ่ง คือวัตถุที่มีความหนาแน่นสูง (เช่น เหล็ก) จะมีปริมาตรน้อยกว่าวัตถุความหนาแน่นต่ำ (เช่น น้ำ) ที่มีมวลเท่ากัน หน่วยเอสไอของความหนาแน่นคือ กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (kg/m3) ความหนาแน่นเฉลี่ย (average density) หาได้จากผลหารระหว่างมวลรวมกับปริมาตรรวม ดังสมการ โดยที.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องผ่านและความหนาแน่น

กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องผ่านและความหนาแน่น มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องผ่านและความหนาแน่น

กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องผ่าน มี 3 ความสัมพันธ์ขณะที่ ความหนาแน่น มี 38 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (3 + 38)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องผ่านและความหนาแน่น หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »