โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กลุ่มเมฆบอกและฮีเลียม

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง กลุ่มเมฆบอกและฮีเลียม

กลุ่มเมฆบอก vs. ฮีเลียม

WFPC2 ซึ่งติดตั้งบนกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล กลุ่มเมฆบอก (Bok globules) คือกลุ่มเมฆมืดประกอบด้วยแก๊สและฝุ่นคอสมิกที่หนาแน่นมาก ซึ่งบางครั้งก็เป็นแหล่งกำเนิดในการก่อตัวของดาวฤกษ์ มักค้นพบในย่านเอชทู และมักมีมวลประมาณ 2 ถึง 50 เท่าของมวลดวงอาทิตย์ ภายในบริเวณที่มีขนาดประมาณ 1 ปีแสง ภายในประกอบด้วยโมเลกุลไฮโดรเจน (H2),คาร์บอนออกไซด์ และฮีเลียม และอีกประมาณ 1% (โดยมวล) เป็นฝุ่นซิลิเกต โดยมากแล้วกลุ่มเมฆบอกมักเป็นต้นกำเนิดของระบบดาวคู่หรือระบบดาวหลายดวง ผู้คนพบกลุ่มเมฆบอกครั้งแรกคือ บาร์ท บอก ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1940 กลุ่มเมฆบอกเป็นหัวข้อการวิจัยที่ยังดำเนินการอยู่อย่างกว้างขวาง โดยเป็นที่เข้าใจว่าเป็นหนึ่งในบรรดาวัตถุที่เย็นที่สุดในเอกภพ โครงสร้างและความหนาแน่นของกลุ่มเมฆยังเป็นเรื่องลึกลั. ีเลียม (Helium) เป็นธาตุเคมีที่มีสัญลักษณ์ว่า He และมีเลขอะตอมเท่ากับ 2 ฮีเลียมเป็นแก๊สไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส ไม่เป็นพิษ เฉื่อย มีอะตอมเดี่ยวซึ่งถูกจัดให้อยู่ในหมู่แก๊สมีตระกูลบนตารางธาตุ จุดเดือดและจุดหลอมเหลวของฮีเลียม มีค่าต่ำสุดกว่าบรรดาธาตุทั้งหมดในตารางธาตุ และมันจะปรากฏในอยู่รูปของแก๊สเท่านั้น ยกเว้นในสภาวะที่เย็นยิ่งยว.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กลุ่มเมฆบอกและฮีเลียม

กลุ่มเมฆบอกและฮีเลียม มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): เอกภพ

เอกภพ

อวกาศห้วงลึกมากของฮับเบิล ที่ประกอบด้วยกาแล็กซีที่มีอายุ ขนาด รูปร่าง และสีแตกต่างกัน เอกภพ หรือ จักรวาล โดยทั่วไปนิยามว่าเป็นผลรวมของการดำรงอยู่ รวมทั้งดาวเคราะห์ ดาวฤกษ์ ดาราจักร สิ่งที่บรรจุอยู่ในอวกาศระหว่างดาราจักร และสสารและพลังงานทั้งหมด การสังเกตเอกภพทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งเชื่อกันว่ามีเส้นผ่านศูนย์กลาง 9,999 ล้านปีแสง นำไปสู่อนุมานขั้นแรกเริ่มของเอกภพ การสังเกตเหล่านี้แนะว่า เอกภพถูกควบคุมด้วยกฎทางฟิสิกส์และค่าคงที่เดียวกันตลอดขนาดและประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่ ทฤษฎีบิกแบงเป็นแบบจำลองจักรวาลวิทยาทั่วไปซึ่งอธิบายพัฒนาการแรกเริ่มของเอกภพ ซึ่งในจักรวาลวิทยากายภาพเชื่อว่าเกิดขึ้นเมื่อราว 13,700 ล้านปีก่อน มีนักฟิสิกส์มากมายเชื่อสมมุติฐานเกี่ยวกับพหุภพ ซึ่งกล่าวไว้ว่าเอกภพอาจเป็นหนึ่งในภพจำนวนมากที่มีอยู่เช่นกัน ระยะทางไกลสุดที่เป็นไปได้ทางทฤษฎีแก่มนุษย์ที่จะมองเห็นอธิบายว่าเป็น เอกภพที่สังเกตได้ การสังเกตได้แสดงว่า เอกภพดูจะขยายตัวในอัตราเร่ง และมีหลายแบบจำลองเกิดขึ้นเพื่อพยากรณ์ชะตาสุดท้ายของเอกภพ แผนภาพตำแหน่งของโลกในสถามที่ต่างๆของเอก.

กลุ่มเมฆบอกและเอกภพ · ฮีเลียมและเอกภพ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง กลุ่มเมฆบอกและฮีเลียม

กลุ่มเมฆบอก มี 11 ความสัมพันธ์ขณะที่ ฮีเลียม มี 39 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 2.00% = 1 / (11 + 39)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กลุ่มเมฆบอกและฮีเลียม หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »