เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

กลุ่มอาการคุชชิงและโรคกระดูกพรุน

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง กลุ่มอาการคุชชิงและโรคกระดูกพรุน

กลุ่มอาการคุชชิง vs. โรคกระดูกพรุน

กลุ่มอาการคุชชิง บางครั้งเรียก hyperadrenocorticism หรือ hypercorticism เป็นความผิดปกติของระบบต่อมไร้ท่อที่ทำให้มีระดับฮอร์โมนคอร์ติซอลในเลือดสูง (hypercortisolism) อาจเกิดจากการได้รับยาเสตียรอยด์ หรือจากเนื้องอกที่หลั่งคอร์ติซอลหรือฮอร์โมน adrenocorticotropic (ACTH) โรคหนึ่งเรียกว่าโรคคุชชิงเป็นสาเหตุหนึ่งของกลุ่มอาการนี้ เกิดจากการมีเนื้องอก (อะดีโนมา) ที่ต่อมใต้สมอง แล้วหลั่งฮอร์โมน ACTH ปริมาณมากออกมาทำให้มีการสร้างคอร์ติซอลมาก เฉพาะโรคนี้สามารถรักษาได้ด้วยการผ่าตัด โรคนี้ได้รับการอธิบายโดยนายแพทย์ฮาร์วีย์ คุชชิง ในปี.. รคกระดูกพรุน (Osteoporosis) คือโรคที่ลดความแข็งแรงของกระดูกและเพิ่มความเสี่ยงที่จะทำให้เกิดกระดูกหัก โรคนี้เป็นสาเหตุหลักของการเกิดกระดูกหักในผู้สูงอายุ ซึ่งมักเกิดกับกระดูกไขสันหลัง, กระดูกแขนท่อนปลายและกระดูกสะโพก โรคกระดูกพรุนมักไม่แสดงอาการ ผู้ป่วยต้องอาศัยการตรวจกระดูกเท่านั้นจึงจะทราบ ผู้ที่มีภาวะกระดูกหักจะมีอาการปวดเรื้อรังและสมรรถภาพการเคลื่อนไหวลดลง เพศหญิงมีความเสี่ยงเป็นโรคนี้สูงกว่าเพศชาย มนุษย์เราจะมีมวลกระดูกมากที่สุดในวัยราว 35 ปี มวลกระดูกจะลดลงเรื่อยๆเมื่อพ้นวัยนี้ไป โรคกระดูกพรุนมีสาเหตุมาจากการมีมวลกระดูกที่ต่ำกว่าคนทั่วไป หรือการมีอัตราการเสื่อมของกระดูกที่เร็วกว่าคนทั่วไป อัตราการเสื่อมของกระดูกจะเพิ่มขึ้นในวัยหมดประจำเดือนของสตรี (ราว 40-50 ปี) จากการที่มีระดับฮอร์โมนเอสโตรเจนลดลง โรคกระดูกพรุนอาจเกิดขึ้นจากเหตุหรือพฤติกรรมอื่นๆ อาทิ การติดสุรา, ภาวะเบื่ออาหาร, ต่อมไทรอยด์ทำงานเกิน, โรคกระเพาะอาหารและลำไส้, การรับศัลยกรรมผ่าตัดเอารังไข่ออก, โรคไต รวมถึงการสูบบุหรี.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กลุ่มอาการคุชชิงและโรคกระดูกพรุน

กลุ่มอาการคุชชิงและโรคกระดูกพรุน มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง กลุ่มอาการคุชชิงและโรคกระดูกพรุน

กลุ่มอาการคุชชิง มี 5 ความสัมพันธ์ขณะที่ โรคกระดูกพรุน มี 5 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (5 + 5)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กลุ่มอาการคุชชิงและโรคกระดูกพรุน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: