โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทยและคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง กลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทยและคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

กลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย vs. คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

กลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย เป็นกลุ่มสถาบันในระดับอุดมศึกษาที่เปิดสอนในหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต มีหน้าที่จัดการสอบเพื่อรับบุคคลเข้าศึกษาต่อในหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ปัจจุบันมีศาสตราจารย์ นายแพทย์อาวุธ ศรีศุกรีเป็นเลขาธิการ มีสถาบันแพทยศาสตร์เป็นสมาชิก 21 สถาบัน ได้แก. ณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ก่อตั้งเมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2537 เป็นคณะที่จัดตั้งขึ้นเป็นลำดับที่ 5 ของมหาวิทยาลัยนเรศวรรังสรรค์ วัฒน.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทยและคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

กลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทยและคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยแพทยศาสตรบัณฑิต

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นโรงเรียนแพทย์แห่งที่สามของประเทศไทยต่อจากคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และยังเป็นเป็นโรงเรียนแพทย์ในส่วนภูมิภาคแห่งแรกของประเทศไทย สถานที่ตั้งปัจจุบันคือ เลขที่ 110 ถนนอินทวโรรส ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ มีเนื้อที่ประมาณ 276 ไร่ มุมทิศตะวันออกเฉียงใต้ จดประตูสวนดอก คณบดีคนปัจจุบันของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่คือ ศาสตราจารย์ นายแพทย์ บรรณกิจ โลจนาภิวัฒน.

กลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทยและคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ · คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรและคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นหน่วยงานระดับคณะวิชาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีพระราชกฤษฎีกาประกาศตั้งเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2490 มีผลบังคับใช้ในวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2490 ภายใต้มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ จนกระทั่งถูกโอนมาสังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปี พ.ศ. 2510 เป็นคณะแพทยศาสตร์แห่งที่ 2 ของประเทศไทย ถือกำเนิดจากพระราชปรารภในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร รัชกาลที่ 8 การดำเนินการจัดตั้งคณะแพทยศาสตร์แห่งนี้เริ่มขึ้นภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลงเพียงแปดเดือนเท่านั้น ถือเป็นช่วงเวลาที่ประเทศไทย ประสบความยากลำบากทางการเมืองและเศรษฐกิจเป็นอย่างยิ่ง อีกทั้งจำเป็นต้องมีการบูรณะบ้านเมืองที่เสียหายจากการทิ้งระเบิด คณะแพทยศาสตร์แห่งนี้จึงมีส่วนสำคัญในการพัฒนาวงการสาธารณสุขของประเทศ ในช่วงเวลาที่ประเทศกำลังอยู่ในภาวะวิกฤต ควบคู่ไปกับการพัฒนามาตรฐานแพทยศาสตรศึกษา ปัจจุบันคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นศูนย์ความร่วมมือขององค์การอนามัยโลก 3 สาขา ได้แก่ ศูนย์ความร่วมมือด้านแพทยศาสตรศึกษา ศูนย์ความร่วมมือด้านการวิจัยการสืบพันธุ์ของมนุษย์ ศูนย์ความร่วมมือด้านการวิจัยและฝึกอบรมด้านไวรัสและโรคติดต่อจากสัตว์สู่คน คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยดำเนินงานร่วมกับโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทยสภากาชาดไท.

กลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทยและคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

แพทยศาสตรบัณฑิต

แพทยศาสตรบัณฑิต (พ.บ.) เป็นหลักสูตรในการศึกษาสาขาวิชาแพทยศาสตร์ ในประเทศไทยเทียบเท่าปริญญาตรี แต่ในประเทศสหรัฐอเมริกา เทียบเท่าปริญญาเอก (Professional Doctorate) ผู้ที่จะเข้าศึกษา Doctor of Medicine (MD)ในประเทศสหรัฐอเมริกาต้องจบปริญญาตรีก่อน จึงจะสามารถเข้าศึกษาแพทยศาสตร์ได้ แพทยศาสตรบัณฑิต หมวดหมู่:แพทยศาสตรศึกษา.

กลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทยและแพทยศาสตรบัณฑิต · คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรและแพทยศาสตรบัณฑิต · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง กลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทยและคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

กลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย มี 22 ความสัมพันธ์ขณะที่ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร มี 115 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 2.19% = 3 / (22 + 115)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทยและคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »