โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กลุ่มภาษามอญ-เขมรและตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง กลุ่มภาษามอญ-เขมรและตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก

กลุ่มภาษามอญ-เขมร vs. ตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก

กลุ่มภาษามอญ-เขมร เป็นกลุ่มของภาษาพื้นเมืองในแถบอินโดจีน อยู่ในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติกเช่นเดียวกับกลุ่มภาษามุนดาในอินเดีย การแบ่งกลุ่มย่อยของภาษาในกลุ่มนี้ ตามการแบ่งของ Diffloth ที่เขียนไว้ใน Encyclopedia Britannica เมื่อ.. ตการแพร่กระจายของภาษากลุ่มออสโตรเอเชียติก ภาษากลุ่มออสโตร-เอเชียติก (Austro-Asiatic languages) เป็นภาษากลุ่มใหญ่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และบางส่วนในอินเดียและบังกลาเทศ ชื่อนี้มาจากคำในภาษาละตินที่แปลว่า “ใต้” และชื่อทวีปเอเชียในภาษากรีก ดังนั้นชื่อของภาษาตระกูลนี้จึงหมายถึงเอเชียใต้ ในบรรดาภาษากลุ่มนี้ทั้งหมด ภาษาเวียดนาม ภาษาเขมร และภาษามอญเป็นภาษาที่มีบันทึกทางประวัติศาสตร์ยาวนาน และเฉพาะภาษาเวียดนาม กับภาษาเขมรเท่านั้นที่เป็นภาษาทางการ ภาษาที่เหลือมักเป็นภาษาที่พูดโดยชนกลุ่มน้อย ภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติกมีการแพร่กระจายตั้งแต่อินเดีย บังกลาเทศ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แยกจากกันด้วยบริเวณที่มีผู้พูดภาษาตระกูลอื่นอยู่ จึงเชื่อกันว่าภาษาตระกูลนี้เป็นภาษาดั้งเดิมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอินเดียตะวันออก ส่วนภาษากลุ่มอื่นในบริเวณนี้ได้แก่ตระกูลอินโด-ยุโรเปียน ไท-กะได ดราวิเดียนและจีน-ทิเบตเป็นผลจากการอพยพเข้ามา มีตัวอย่างคำในภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติกอยู่ในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่าในเนปาลตะวันออก นักภาษาศาสตร์บางคนเชื่อว่า ภาษานี้เกี่ยวข้องกับตระกูลภาษาออสโตรนีเซียนและจัดเป็นตระกูลใหญ่ออสตริก.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กลุ่มภาษามอญ-เขมรและตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก

กลุ่มภาษามอญ-เขมรและตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก มี 8 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): กลุ่มภาษาบะห์นาริกกลุ่มภาษากะตูกลุ่มภาษาเวียตติกภาษากาสีภาษามอญภาษาเขมรรัฐเมฆาลัยประเทศอินเดีย

กลุ่มภาษาบะห์นาริก

กลุ่มภาษาบะห์นาริก (Bahnaric Languages) เป็นภาษาในกลุ่มมอญ-เขมร ตระกูลออสโตรเอเชียติก แบ่งเป็น 5 กลุ่มย่อย คือ.

กลุ่มภาษาบะห์นาริกและกลุ่มภาษามอญ-เขมร · กลุ่มภาษาบะห์นาริกและตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษากะตู

กลุ่มภาษากะตู (Katuic languages) อยู่ในกลุ่มภาษามอญ-เขมร ตระกูลออสโตรเอเชียติก.

กลุ่มภาษากะตูและกลุ่มภาษามอญ-เขมร · กลุ่มภาษากะตูและตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาเวียตติก

กลุ่มภาษาเวียตติก หรือ กลุ่มภาษาเหวียด-เหมื่อง เป็นสาขาของภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติกซึ่งรวมภาษาเวียดนามและภาษาเหมื่องไว้ในกลุ่มนี้ ภาษาเวียดนามจัดเข้าอยู่ในตระกูลออสโตรเอเชียติกเมื่อ..

กลุ่มภาษามอญ-เขมรและกลุ่มภาษาเวียตติก · กลุ่มภาษาเวียตติกและตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากาสี

ษากาสีเป็นภาษากลุ่มออสโตรเอเชียติกใช้พูดในรัฐเมฆาลัย ประเทศอินเดีย อยู่ในสาขามอญ-เขมร และใกล้เคียงกับภาษากลุ่มมุนดาที่เป็นภาษาตระกูลออสโตรเชียติกที่มีผู้พูดในอินเดียกลาง มีผู้พูด 865,000 คน ในรัฐเมฆาลัย มีผู้พูดบางส่วนในหุบเขาตามแนวชายแดนด้านรัฐอัสสัมและในบังกลาเทศตามแนวชายแดนอินเดีย ภาษากาสีมีเรื่องเล่าพื้นบ้านมากมักเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับที่มาของชื่อต่างๆของภูเขา แม่น้ำ สัตว์และอื่น.

กลุ่มภาษามอญ-เขมรและภาษากาสี · ตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติกและภาษากาสี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามอญ

ษามอญ (เพียซาโหม่น) เป็นภาษาในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก กลุ่มภาษามอญ-เขมร ซึ่งเป็นสายหนึ่งในตระกูลภาษามอญ-เขมร 12 สาย พูดโดยชาวมอญ ที่อาศัยอยู่ในพม่า และไทย ภาษาตระกูลมอญ-เขมรมีการใช้มานานประมาณ 3,000-4,000 ปีมาแล้ว มีผู้ใช้ภาษานี้อยู่ประมาณ 5,000,000 คน อักษรมอญ ที่เก่าแก่ที่สุดนั้น ค้นพบในประเทศไทย หลักฐานที่พบคือ จารึกวัดโพธิ์ร้าง พ.ศ. 1143 เป็นอักษรมอญโบราณที่เก่าแก่ที่สุด ในบรรดาจารึกภาษามอญที่ได้ค้นพบ ในแถบเอเซียอาคเนย์ เป็นจารึกที่เขียนด้วยตัวอักษรปัลลวะ ที่ยังไม่ได้ดัดแปลงให้เป็น อักษรมอญ และได้พบอักษรที่มอญประดิษฐ์เพิ่มขึ้น เพื่อให้พอกับเสียงในภาษามอญ ในจารึกเสาแปดเหลี่ยมที่ศาลสูง เมืองลพบุรี ข้อความที่จารึกเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา สันนิษฐานว่า จารึกในพุทธศตวรรษที่ 14 ราว..

กลุ่มภาษามอญ-เขมรและภาษามอญ · ตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติกและภาษามอญ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเขมร

ษาเขมร (ភាសាខ្មែរ ภาสาแขฺมร เพียซา ขฺมะเอ) ซึ่งเป็นภาษาประจำชาติของราชอาณาจักรกัมพูชา เป็นหนึ่งในภาษาหลักของภาษากลุ่มออสโตรเอเซียติก และได้รับอิทธิพลหลายๆ ประการมาจากภาษาสันสกฤต และภาษาบาลี พอสมควร ซึ่งอิทธิพลเหล่านี้เข้ามาผ่านศาสนาพุทธ และศาสนาฮินดู ในขณะที่อิทธิพลจากภาษาอื่นๆ โดยมากเป็นคำยืม เช่น จากภาษาไทย ภาษาลาว และภาษาเวียดนาม เป็นผลมาจากการติดต่อกันทางด้านภาษา และความใกล้ชิดกันในทางภูมิศาสตร์ และภาษาจีนจากการอพยพ ภาษาฝรั่งเศสจากการตกเป็นอาณานิคมช่วงเวลาหนึ่ง และภาษามลายูจากความสัมพันธ์ในอดีตและการที่เคยมีอาณาจักรจามปาในตอนกลางของประเทศเวียดนาม ภาษาเขมรแปลกไปจากภาษาในประเทศเพื่อนบ้าน (ภาษาไทย ภาษาลาว และภาษาเวียดนาม) เนื่องจากไม่มีเสียงวรรณยุกต.

กลุ่มภาษามอญ-เขมรและภาษาเขมร · ตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติกและภาษาเขมร · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเมฆาลัย

รัฐเมฆาลัย (Meghalaya) คือหนึ่งในรัฐทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอินเดีย มีเขตติดต่อกับประเทศบังกลาเทศทางทิศใต้และตะวันตก และรัฐอัสสัมทางทิศเหนือและตะวันออก ในปัจจุบันหนึ่งในสามของรัฐยังคงปกคลุมไปด้วยป่าไม้ นอกจากนี้แล้ว รัฐเมฆาลัยยังถือเป็นสถานที่ ๆ ฝนตกชุกที่สุดในโลกและเป็นสถานที่ ๆ ชื้นแฉะที่สุดในโลกอีกด้ว.

กลุ่มภาษามอญ-เขมรและรัฐเมฆาลัย · ตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติกและรัฐเมฆาลัย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินเดีย

อินเดีย (India; भारत, ออกเสียง) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐอินเดีย (Republic of India; भारत गणराज्य) ตั้งอยู่ในทวีปเอเชียใต้ เป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของอนุทวีปอินเดีย มีประชากรมากเป็นอันดับที่สองของโลก และเป็นประเทศประชาธิปไตยที่มีประชากรมากที่สุดในโลก โดยมีประชากรมากกว่าหนึ่งพันล้านคน มีภาษาพูดร้อยแปดสิบแปดภาษาโดยประมาณ ด้านเศรษฐกิจ อินเดียมีอำนาจการซื้อมากเป็นอันดับที่สี่ของโลก ทั้งนี้ อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจีน เนปาล และภูฏาน ทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับปากีสถาน ทางตะวันออกติดพม่า ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดมหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันออกเฉียงใต้ติดศรีลังกา ล้อมรอบบังกลาเทศทางทิศเหนือ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก นอกนั้นยังมีเขตแดนทางทะเลต่อเนื่องกับน่านน้ำไทย พม่า และอินโดนีเซีย และด้วยพื้นที่ 3,287,590 ตารางกิโลเมตร อินเดียจึงเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 7 ของโลก.

กลุ่มภาษามอญ-เขมรและประเทศอินเดีย · ตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติกและประเทศอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง กลุ่มภาษามอญ-เขมรและตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก

กลุ่มภาษามอญ-เขมร มี 15 ความสัมพันธ์ขณะที่ ตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก มี 21 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 8, ดัชนี Jaccard คือ 22.22% = 8 / (15 + 21)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กลุ่มภาษามอญ-เขมรและตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »