โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์

กลุ่มภาษาจีน vs. โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์

ัฒนาการของภาษาจีนสำเนียงต่างๆ ภาษาจีน (汉语 - 漢語 - Hànyǔ - ฮั่นอวี่, 华语 - 華語 - Huáyǔ - หัวอวี่ หรือ 中文 - Zhōngwén - จงเหวิน) เป็นหนึ่งในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ชาวจีนส่วนใหญ่ถือภาษาจีนพูดชนิดต่าง ๆ ว่าเป็นภาษาเดียว โดยทั่วไปแล้ว ภาษาพูดในกลุ่มภาษาจีนเป็นภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์และไม่อ่านเนื่องเสียง อย่างไรก็ดี ยังมีความแตกต่างกันในภาษาพูดแต่ละภาษาอยู่มาก ความต่างเหล่านี้เทียบได้กับ ความแตกต่างระหว่างภาษาของภาษากลุ่มโรมานซ์ เราอาจแบ่งภาษาพูดของจีนได้ 6 ถึง 12 กลุ่ม ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่ง ที่เป็นที่รู้จักดี เช่น กลุ่มแมนดาริน กลุ่มหวู และกลุ่มกวางตุ้ง ยังเป็นที่โต้เถียงกันถึงปัจจุบันว่าภาษาพูดบางกลุ่มควรจัดเป็น "ภาษา" หรือเป็นแค่ "สำเนียง" ประชากรประมาณ 1/5 ของโลกพูดภาษาจีนแบบใดแบบหนึ่งเป็นภาษาแม่ ทำให้เป็นภาษาที่มีคนพูดเป็นภาษาแม่มากที่สุด สำเนียงพูดที่ถือเป็นมาตรฐาน คือ สำเนียงปักกิ่ง หรือ ภาษาฮั่น ซึ่งอยู่ในกลุ่มภาษาแมนดาริน ภาษาจีนกลาง หรือ ภาษาจีนแมนดาริน (Standard Mandarin) เป็นภาษาทางการของสาธารณรัฐประชาชนจีน และสาธารณรัฐจีนหรือไต้หวัน เป็นหนึ่งในภาษาทางการ 4 ภาษาทางการของประเทศสิงคโปร์ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษามลายู และภาษาทมิฬ) และเป็นหนึ่งใน 6 ภาษาที่ใช้ในองค์การสหประชาชาติ (ร่วมกับ ภาษาอังกฤษ ภาษาอาหรับ ภาษาฝรั่งเศส ภาษารัสเซีย และภาษาสเปน) ภาษาจีนกวางตุ้ง เป็นภาษาทางการของ ฮ่องกง (ร่วมกับภาษาอังกฤษ) และมาเก๊า (ร่วมกับภาษาโปรตุเกส) นอกจากนี้ ภาษาเขียนยังได้เปลี่ยนแปลงตามระยะเวลา แต่การเปลี่ยนแปลงของภาษาเขียน ช้ากว่าการเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดอย่างมาก จึงไม่ถูกจำกัดโดยความเปลี่ยนแปลงของภาษาพูดโดยส่วนใหญ่ ในปัจจุบัน ภาษาจีนใช้อักษรมาตรฐาน 2 รูปแบบทั่วโลก ได้แก่ อักษรจีนตัวเต็ม และ อักษรจีนตัวย่อ แผ้นที่แสดงพื้นที่ที่มีกลุ่มคนพูดภาษาจีนต่างๆ ในประเทศจีน. รงเรียนเบญจมราชานุสรณ์ (Benjamarachanusorn School) อักษรย่อว่า ".." เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาแบบสหศึกษาขนาดใหญ่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 (นนทบุรี-พระนครศรีอยุธยา) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งโดยความสำนึกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวในปี พ.ศ. 2521 โดยในระยะแรกได้แยกตัวมาจาก โรงเรียนเบญจมราชาลัย ซึ่งเป็นโรงเรียนสตรีล้วน โดยใช้ชื่อว่า โรงเรียนเบญจมราชาลัย 2 ปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่ 42/3 หมู่ที่ 1 ถนนประชานิเวศน์ 3 (แยกถนนสามัคคี) ตำบลท่าทราย อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี บนเนื้อที่จำนวน 20 ไร่ 3 งาน 91 ตารางวา มีอาคาร 8 หลัง เปิดสอนในช่วงชั้นการศึกษาที่ 3 และ 4 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 36 ห้อง(แบ่งเป็น โครงการความสามารถพิเศษวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ ม.ต้น และห้องเรียนทั่วไป) และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 30 ห้อง แบ่งเป็นแผนการเรียนดังนี้ ห้องเรียนทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ จำนวน 3 ห้อง (แบ่งเป็น วิทย์-คณิต โครงการพิเศษ 1 ห้อง วิทย์-คณิตทั่วไป 2 ห้อง)ห้องเรียนศิลปศาสตร์-คณิตศาสตร์ (ศิลป์-คำนวณ) 2 ห้อง, ห้องเรียนศิลปศาสตร์-ภาษาศาสตร์(ศิลป์-ภาษา) (แบ่งเป็น วิชาเอก ภาษาฝรั่งเศส 1 ห้อง, ภาษาญี่ปุ่น 1 ห้อง และภาษาจีน 2 ห้อง) และ ศิลปศาสตร์-สังคมศาสตร์ (ศิลป์-ทั่วไป 1 ห้อง) รวมทั้งสิ้น 66 ห้องเรียน (ไม่รวมห้องเรียนรวม) มีนักเรียนประมาณ 3500 คน (ข้อมูล ปีการศึกษา 2554).

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์

กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์ มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ภาษาฝรั่งเศส

ภาษาฝรั่งเศส

ษาฝรั่งเศส (Français ฟฺร็อง์แซ) เป็นหนึ่งในภาษากลุ่มโรมานซ์ที่สำคัญที่สุด เป็นรองเพียงภาษาสเปนและโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาที่มีคนนิยมเป็นอันดับที่ 11 ของโลก โดยเมื่อปี พ.ศ. 2558 มีคนพูดภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาแม่ประมาณ 84 ล้านคน และเมื่อรวมคนที่พูดเป็นภาษาที่สองแล้วจะมีประมาณ 300 ล้านคน ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาทางการ และภาษาที่ใช้ปกครองในชุมชนต่าง ๆ โดยเฉพาะประเทศที่เคยเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส รวมถึงองค์กรต่าง ๆ ด้วย (เช่น สหภาพยุโรป ไอโอซี องค์การสหประชาชาติ และสหภาพสากลไปรษณีย์) ในสมัยก่อนภาษาฝรั่งเศสถือเป็นภาษาสากลที่แพร่หลายที่สุด โดยมีสถานะเฉกเช่นภาษาอังกฤษในปัจจุบัน หนังสือเดินทางของไทยก็เคยใช้ภาษาฝรั่งเศสควบคู่กับภาษาไท.

กลุ่มภาษาจีนและภาษาฝรั่งเศส · ภาษาฝรั่งเศสและโรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์

กลุ่มภาษาจีน มี 42 ความสัมพันธ์ขณะที่ โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์ มี 47 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 1.12% = 1 / (42 + 47)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กลุ่มภาษาจีนและโรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »