เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

กลุ่มตะวันออกและการบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง กลุ่มตะวันออกและการบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอ

กลุ่มตะวันออก vs. การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอ

นการณ์ทางการเมืองของโลกตะวันออกในยุคสงครามเย็น. โลกตะวันออกในยุคสงครามเย็น คำว่า กลุ่มตะวันออก (Eastern Bloc) เป็นชื่อเรียกที่หมายถึงอดีตรัฐซึ่งปกครองด้วยระบอบสังคมนิยมแบบคอมมิวนิสต์ ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในยุโรปตะวันออก และอาจหมายรวมถึงประเทศที่เข้าร่วมสนธิสัญญาวอร์ซอด้วยเช่นกัน คำว่า "กลุ่มตะวันออก" เป็นชื่อที่ใช้เรียกในยุคสงครามเย็น (ค.ศ. 1946 - ค.ศ. 1989) รัฐต่างๆ ที่อยู่ในโลกตะวันออกส่วนใหญ่เป็นรัฐที่ถูก สหภาพโซเวียตเข้ายึดครองในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง หลังจากที่สหภาพโซเวียตล่มสลาย รัฐแต่ละรัฐที่อยู่ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียตก็ได้แยกตัวตั้งตนเป็นอิสระและเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสังคมนิยมเป็นระบอบประชาธิปไตยแทน รวมอีกทั้งประเทศเยอรมันทั้งตะวันออกและตะวันตกก็ได้รวมตัวกันเป็นหนึ่งภายหลังการทำลายกำแพงเบอร์ลิน ทำให้กลุ่มตะวันออกล่มสล. การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอ เป็นเหตุการณ์ที่สหภาพโซเวียตและพันธมิตรหลักของสหภาพโซเวียตตามกติกาสัญญาวอร์ซอรุกรานเชโกสโลวาเกียเพื่อยับยั้งการปฏิรูปทางการเมืองของอเล็กซานเดอร์ ดุปเชค ในช่วงปรากสปริง ในคืนวันที่ 20 - 21 สิงหาคม..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กลุ่มตะวันออกและการบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอ

กลุ่มตะวันออกและการบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอ มี 9 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): กติกาสัญญาวอร์ซอสหภาพโซเวียตสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาชนแอลเบเนียสาธารณรัฐสังคมนิยมโรมาเนียสาธารณรัฐสังคมนิยมเชโกสโลวักสาธารณรัฐประชาชนบัลแกเรียสาธารณรัฐประชาชนฮังการีสาธารณรัฐประชาชนโปแลนด์ประเทศเยอรมนีตะวันออก

กติกาสัญญาวอร์ซอ

กติกาสัญญาวอร์ซอ (Warsaw Pact) หรือชื่อทางการว่า สนธิสัญญาแห่งไมตรี ความร่วมมือ และการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน (Treaty of Friendship, Co-operation, and Mutual Assistance; Договор о дружбе, сотрудничестве и взаимной помощи) บางครั้งเรียกขานอย่างไม่เป็นทางการว่า วอร์แพ็ก (WarPac) เป็นกติกาสัญญาด้านความมั่นคงร่วมกันระหว่างสหภาพโซเวียตกับรัฐบริวารของตนอีกเจ็ดแห่งในยุโรปตอนกลางและตะวันออกระหว่างช่วงสงครามเย็น กติกาสัญญาวอร์ซอเป็นส่วนเพิ่มด้านการทหารของคณะกรรมาธิการเพื่อการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจระหว่างกันหรือ โคเมคอน (Council for Mutual Economic Assistance; CoMEcon) ซึ่งเป็นองค์การทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคสำหรับรัฐคอมมิวนิสต์ในยุโรปตอนกลางและตะวันออก ทั้งนี้กติกาสัญญาวอร์ซอก่อตั้งขึ้นเพื่อตอบโต้การที่เยอรมนีตะวันตกเข้าร่วมกับองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (เนโท)"In reaction to West Germany’s NATO accession, the Soviet Union and its Eastern European client states formed the Warsaw Pact in 1955." Citation from: ในปี..

กติกาสัญญาวอร์ซอและกลุ่มตะวันออก · กติกาสัญญาวอร์ซอและการบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอ · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพโซเวียต

หภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (Сою́з Сове́тских Социалисти́ческих Респу́блик - CCCP; Union of Soviet Socialist Republics - USSR) หรือย่อเป็น สหภาพโซเวียต (Soviet Union) เป็นประเทศอภิมหาอำนาจในอดีตบนทวีปยูเรเชีย ระหว่างปี..

กลุ่มตะวันออกและสหภาพโซเวียต · การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอและสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาชนแอลเบเนีย

รณรัฐสังคมนิยมประชาชนแอลเบเนีย (People's Socialist Republic of Albania (PSRA); Republika Popullore Socialiste e Shqipërisë) เป็นรัฐคอมมิวนิสต์ตั้งแต่ ค.ศ. 1944 ถึง ค.ศ. 1992.

กลุ่มตะวันออกและสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาชนแอลเบเนีย · การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอและสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาชนแอลเบเนีย · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสังคมนิยมโรมาเนีย

รณรัฐสังคมนิยมโรมาเนีย (RSR; โรมาเนีย Republica Socialistă România, อังกฤษ Socialist Republic of Romania) เป็นรัฐคอมมิวนิสต์ ตั้งแต่ ค.ศ. 1947 ถึง ค.ศ. 1989 โดยในระหว่างปี 1947 ถึง ปี 1965 รัฐแห่งนี้มีชื่อเรียกว่า สาธารณรัฐประชาชนโรมาเนีย (Romanian People's Republic) ประเทศนี้เคยอยู่ในรัฐบริวารโซเวียต ค่ายตะวันออก ด้วยการปกครองของพรรคคอมมิวนิสต์โรมาเนีย ด้วยการสิ้นสุดของสงครามโลกครั้งที่สอง, ราชอาณาจักรโรมาเนีย เป็นอดีตสมาชิกของฝ่ายอักษะ ถูกยึดครองโดยสหภาพโซเวียต ที่มีบทบาทในฝ่ายสัมพันธมิตร วันที่ 6 มีนาคม 1945 หลังจากถูกสังหารหมู่ โซเวียตได้สนับสนุนและก่อตั้งรัฐบาลคอมมิวนิสต์ขึ้น ในธันวาคม ปี 1947 กษัตริย์มีไฮที่ 1ถูกบังคับให้สละราชสมบัติ และสาธารณรัฐประชาชนโรมาเนียได้ก่อตั้งขึ้น.

กลุ่มตะวันออกและสาธารณรัฐสังคมนิยมโรมาเนีย · การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอและสาธารณรัฐสังคมนิยมโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสังคมนิยมเชโกสโลวัก

รณรัฐสังคมนิยมเชโกสโลวัก (เช็กและสโลวัก: Československá socialistická republika) เป็นรัฐคอมมิวนิสต์ตั้งแต..

กลุ่มตะวันออกและสาธารณรัฐสังคมนิยมเชโกสโลวัก · การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอและสาธารณรัฐสังคมนิยมเชโกสโลวัก · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐประชาชนบัลแกเรีย

รณรัฐประชาชนบัลแกเรีย (PRB; Народна република България (НРБ) Narodna republika Balgariya (NRB), People's Republic of Bulgaria) เป็นรัฐคอมมิวนิสต์ตั้งแต่ พ.ศ. 2489 ถึง พ.ศ. 2533.

กลุ่มตะวันออกและสาธารณรัฐประชาชนบัลแกเรีย · การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอและสาธารณรัฐประชาชนบัลแกเรีย · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐประชาชนฮังการี

รณรัฐประชาชนฮังการี (Magyar Népköztársaság), หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ ฮังการี เป็นยุคหนึ่งของ ประวัติศาสตร์ฮังการี ตั้งแต่ปี 1949 ถึงปี 1989 โดยประเทศนี้เป็น สาธารณรัฐสังคมนิยม สาธารณรัฐประชาชนฮังการีถูกปกครองโดย พรรคแรงงานสังคมนิยมฮังการี, ภายได้การหนุนหลังของ สหภาพโซเวียตRao, B. V. (2006), History of Modern Europe Ad 1789-2002: A.D. 1789-2002, Sterling Publishers Pvt.

กลุ่มตะวันออกและสาธารณรัฐประชาชนฮังการี · การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอและสาธารณรัฐประชาชนฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐประชาชนโปแลนด์

รณรัฐประชาชนโปแลนด์ (Polska Rzeczpospolita Ludowa People's Republic of Poland (PRP)) เป็นรัฐคอมมิวนิสต์ตั้งแต..

กลุ่มตะวันออกและสาธารณรัฐประชาชนโปแลนด์ · การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอและสาธารณรัฐประชาชนโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเยอรมนีตะวันออก

อรมนีตะวันออก (East Germany) เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการของ สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี (Deutsche Demokratische Republik - DDR; German Democratic Republic - GDR) เป็นประเทศคอมมิวนิสต์ที่ดำรงอยู่ในช่วงปี 1949 ถึงปี 1990 โดยเป็นส่วนหนึ่งของดินแดนเยอรมันที่ถูกปกครองโดยอดีตสหภาพโซเวียต หลังจากการยึดครองเยอรมนีของกองทัพโซเวียตสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เยอรมนีตะวันออกเป็นประเทศหนึ่งที่เข้าร่วมสนธิสัญญาวอร์ซอ ในช่วงสงครามเย็น โดยเยอรมนีตะวันออกได้นิยามตัวเองว่าเป็นรัฐสังคมนิยม "ของคนงานและชาวนา"Patrick Major, Jonathan Osmond, The Workers' and Peasants' State: Communism and Society in East Germany Under Ulbricht 1945–71, Manchester University Press, 2002, และเขตที่ถูกยึดครอง ได้รับการปกครองโดยกองกำลังโซเวียตในตอนท้ายของสงครามโลกครั้งที่สอง เขตยึดครองโซเวียตตามข้อตกลงพ็อทซ์ดัมซึ่งอยู่ทางทิศตะวันออกติดกับแนว Oder-Neisse เขตยึดครองโซเวียตล้อมรอบเบอร์ลินตะวันตก แต่ไม่รวมถึง เป็นผลให้เบอร์ลินตะวันตกยังคงอยู่นอกเขตอำนาจของเยอรมนีตะวันออก สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนีก่อตั้งขึ้นในเขตโซเวียต ขณะที่สหพันธรัฐจัดตั้งขึ้นในสามเขตตะวันตก เยอรมนีตะวันออกเป็นรัฐบริวารของสหภาพโซเวียต เจ้าหน้าที่ยึดครองโซเวียตได้เริ่มถ่ายโอนความรับผิดชอบในการบริหารให้กับผู้นำคอมมิวนิสต์เยอรมันในปี 1948 และเริ่มมีบทบาทเป็นรัฐเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 1949 อย่างไรก็ตามกองทัพโซเวียตยังคงกำลังอยู่ในประเทศตลอดช่วงสงครามเย็น จนถึง 1989 เยอรมนีตะวันออกถูกปกครองโดยพรรคเอกภาพสังคมนิยมเยอรมนี แม้ว่าพรรคอื่น ๆ ในนามขององค์กรพันธมิตร National Front of Democratic Germany 29 October 1989.

กลุ่มตะวันออกและประเทศเยอรมนีตะวันออก · การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอและประเทศเยอรมนีตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง กลุ่มตะวันออกและการบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอ

กลุ่มตะวันออก มี 16 ความสัมพันธ์ขณะที่ การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอ มี 23 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 9, ดัชนี Jaccard คือ 23.08% = 9 / (16 + 23)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กลุ่มตะวันออกและการบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: