ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กลุ่มชนเจอร์แมนิกและตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน
กลุ่มชนเจอร์แมนิกและตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน มี 4 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): กลุ่มภาษาโรมานซ์กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกภาษาละตินตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน
กลุ่มภาษาโรมานซ์
ภาษาโรมาเนีย กลุ่มภาษาโรมานซ์ เป็นสาขาหนึ่งของตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน และเป็นกลุ่มภาษาที่กลายพันธุ์มาจากภาษาละติน ประกอบด้วย ภาษาฝรั่งเศส ภาษาอิตาลี ภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส ภาษาโรมาเนีย และ ภาษากาตาลา เป็นต้น มีผู้พูดภาษาในกลุ่มนี้ทั่วโลกมากกว่า 700 ล้านคน รโมานซ์ หมวดหมู่:กลุ่มภาษาโรมานซ์.
กลุ่มชนเจอร์แมนิกและกลุ่มภาษาโรมานซ์ · กลุ่มภาษาโรมานซ์และตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน ·
กลุ่มภาษาเจอร์แมนิก
้นแบ่งระหว่างกลุ่มเจอร์แมนิกตะวันตกและกลุ่มเจอร์แมนิกเหนือ กลุ่มภาษาเจอร์แมนิก เป็นสาขาหนึ่งของตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน.
กลุ่มชนเจอร์แมนิกและกลุ่มภาษาเจอร์แมนิก · กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกและตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน ·
ภาษาละติน
ษาละติน (Latin) เป็นภาษาโบราณในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน มีต้นกำเนิดในที่ราบลาติอุม (Latium) ซึ่งเป็นพื้นที่รอบๆกรุงโรม และได้ชื่อว่าเป็นภาษาทางการในการสื่อสารของจักรวรรดิโรมัน ต่อมาภาษาละตินได้ถูกกำหนดให้เป็นภาษาสื่อสารและในพิธีสวดของศาสนจักรโรมันคาทอลิก และยังเป็นภาษาที่ใช้โดยนักวิทยาศาสตร์ นักปรัชญา และนักเทววิทยาของยุโรป ตั้งแต่ตลอดยุคกลางจนมาถึงยุคสมัยใหม่ ภาษาละตินจึงเป็นภาษาต้นฉบับของงานเขียนที่ทรงคุณค่าทั้งทางประวัติศาสตร์ และทางวรรณกรรมเป็นจำนวนมาก ภาษาอังกฤษได้รับคำในภาษาละตินเข้ามาในภาษาตนเป็นจำนวนมาก เนื่องจากอิทธิพลของเจ้าปกครองชาวแองโกล-นอร์มัน ซึ่งใช้ภาษาฝรั่งเศส นอกจากนี้คำศัพท์ที่ใช้ในสาขาวิทยาศาสตร์และการแพทย์ ล้วนเป็นคำศัพท์ภาษาละตินหรือสร้างจากภาษาละติน ภาษาละตินเป็นภาษามีวิภัติปัจจัย (การผันคำ) มีการก 7 การก (case), มีเพศ 3 เพศ, และมีพจน์ 2 พจน์ ภาษาอื่น ๆ อีกหลายภาษาที่ใช้ในปัจจุบัน พัฒนาสืบต่อมาจากภาษาละตินพื้นบ้าน ซึ่งจะเรียกกลุ่มภาษาเหล่านี้ว่า ภาษากลุ่มโรมานซ์ ภาษาที่อยู่ในกลุ่มภาษาโรมานซ์ที่สำคัญได้แก่ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาโรมาเนีย ภาษาอิตาลี ภาษาโปรตุเกส และภาษาสเปน ภาษาส่วนใหญ่ในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียนก็มีความสัมพันธ์บางอย่างกับภาษาละติน แม้ภาษาละตินในปัจจุบัน จะมีผู้ใช้น้อยมากจนถูกนับว่าเกือบเป็นภาษาสูญแล้ว แต่การศึกษาภาษาละตินในโรงเรียนและในมหาวิทยาลัยก็ยังคงมีอยู่อย่างแพร่หลาย นอกจากนี้อักษรละติน (ที่พัฒนามาจากอักษรกรีก) ยังคงมีใช้ในหลายภาษา และเป็นอักษรที่ใช้มากที่สุดในโลก.
กลุ่มชนเจอร์แมนิกและภาษาละติน · ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียนและภาษาละติน ·
ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน
ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน หรือ ตระกูลภาษาอินเดีย-ยุโรป ประกอบด้วยภาษาและภาษาย่อยรวม 443 ภาษา (ตามการประมาณของ SIL) ที่พูดโดยคนประมาณ 3 พันล้านคน ซึ่งรวมถึงตระกูลภาษาหลัก ๆ ของยุโรป และเอเชียตะวันตก ซึ่งจัดอยู่ในตระกูลใหญ่ ภาษาปัจจุบันที่อยู่ในตระกูลใหญ่นี้ มีเช่น ภาษาเบงกาลี ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน ภาษาฮินดี ภาษาโปรตุเกส ภาษารัสเซีย และ ภาษาสเปน (แต่ละภาษามีคนพูดมากกว่า 100 ล้านคน).
กลุ่มชนเจอร์แมนิกและตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน · ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียนและตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ กลุ่มชนเจอร์แมนิกและตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง กลุ่มชนเจอร์แมนิกและตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน
การเปรียบเทียบระหว่าง กลุ่มชนเจอร์แมนิกและตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน
กลุ่มชนเจอร์แมนิก มี 28 ความสัมพันธ์ขณะที่ ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน มี 55 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 4, ดัชนี Jaccard คือ 4.82% = 4 / (28 + 55)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กลุ่มชนเจอร์แมนิกและตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: