เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

กลศาสตร์ควอนตัมและวัตถุดำ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง กลศาสตร์ควอนตัมและวัตถุดำ

กลศาสตร์ควอนตัม vs. วัตถุดำ

'''ฟังชันคลื่น''' (Wavefunction) ของอิเล็กตรอนในอะตอมของไฮโดรเจนที่ทรงพลังงานกำหนดแน่ (ที่เพิ่มลงล่าง ''n''. วัตถุดำ (Black body) คือ วัตถุที่ดูดกลืนคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ตกกระทบตัวมันทั้งหมด ไม่มีการทะลุผ่านและไม่มีการสะท้อน ทำให้ วัตถุดำเป็นวัตถุในอุดมคติของการแผ่รังสีความร้อน จำนวนและความยาวคลื่นของการแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแปรผันตรงกับอุณหภูมิ วัตถุดำอุณหภูมิน้อยกว่า 700 K (427 °C) ให้การแผ่รังสีในย่านความยาวคลื่นที่มองเห็นได้น้อยมาก จึงทำให้มองเห็นเป็นสีดำ เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้นมากกว่านั้น จะมีการแผ่รังสีในย่านความยาวคลื่นที่มองเห็นได้ เริ่มจาก แดง ส้ม เหลือง ขาว และไปจบที่ฟ้.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กลศาสตร์ควอนตัมและวัตถุดำ

กลศาสตร์ควอนตัมและวัตถุดำ มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): มักซ์ พลังค์

มักซ์ พลังค์

มักซ์ คาร์ล แอนสท์ ลุดวิจ พลังค์ เป็นนักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน ผู้บุกเบิกการศึกษาทฤษฎีควอนตัม อันเป็นส่วนสำคัญในการศึกษาฟิสิกส์สมัยใหม่ แม้ในชีวิตตอนแรกของเขาจะดูราบรื่น โดยเขามีความสามารถทั้งทางดนตรีและฟิสิกส์ แต่เขากลับเดินไปในเส้นทางแห่งนักฟิสิกส์ทฤษฎี จนเขาได้ตั้งทฤษฎีทางฟิสิกส์ที่สำคัญต่อฟิสิกส์สมัยใหม่ นั่นคือ กฎการแผ่รังสีของวัตถุดำของพลังค์ รวมถึงค่าคงตัวของพลังค์ ซึ่งนับว่าขาดไม่ได้เลยสำหรับการศึกษากลศาสตร์ควอนตัม ทว่าบั้นปลายกลับเต็มไปด้วยความสิ้นหวังจากภัยสงคราม เขาต้องสูญเสียภรรยาคนแรก และบุตรที่เกิดกับภรรยาคนแรกไปทั้งหมด จนเหลือเพียงตัวเขา ภรรยาคนที่สอง และบุตรชายที่เกิดกับภรรยาคนที่สองเพียงคนเดียว ถึงกระนั้น พลังค์ก็ยังไม่ออกจากประเทศเยอรมนีอันเป็นบ้านเกิดของเขาไปยังดินแดนอื่น พลังค์ได้รับรางวัลโนเบล สาขาฟิสิกส์ ประจำปี..

กลศาสตร์ควอนตัมและมักซ์ พลังค์ · มักซ์ พลังค์และวัตถุดำ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง กลศาสตร์ควอนตัมและวัตถุดำ

กลศาสตร์ควอนตัม มี 22 ความสัมพันธ์ขณะที่ วัตถุดำ มี 6 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 3.57% = 1 / (22 + 6)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กลศาสตร์ควอนตัมและวัตถุดำ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: