เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

กฤษณ์ ศรีภูมิเศรษฐ์และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง กฤษณ์ ศรีภูมิเศรษฐ์และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก

กฤษณ์ ศรีภูมิเศรษฐ์ vs. สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก

กฤษณ์ ศรีภูมิเศรษฐ์ มีชื่อเดิมว่า ณัฏฐ์ ศรีภูมิเศรษฐ์ มีชื่อเล่นว่า นัท เป็นบุตรของ นาย สันต์ ศรีภูมิเศรษฐ์ และ นาง ทัศนีย์ ศรีภูมิเศรษฐ์ เกิดเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2522 เป็นนักแสดง นักจัดรายการวิทยุชาวไทย จบการศึกษาจากคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ เอกการเงิน เข้าสู่วงการบันเทิงตั้งแต่อายุ 14 ปี โดยการถ่ายแบบในนิตยสาร เพชร จากนั้นก็มีผลงานละคร เช่น เรื่อง สาวใช้หัวใจชิคาโก, รักห้ามโปรโมท และ พินัยกรรม เป็นต้น ในปี.. นีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก (Royal Thai Army Radio and Television; ชื่อย่อ: ททบ.) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) ของกองทัพบกไทย และเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งที่สองของประเทศไทย เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 25 มกราคม..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กฤษณ์ ศรีภูมิเศรษฐ์และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก

กฤษณ์ ศรีภูมิเศรษฐ์และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก มี 15 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีช่องเวิร์คพอยท์พ.ศ. 2522พ.ศ. 2546พ.ศ. 2548พ.ศ. 2549พ.ศ. 2553พ.ศ. 2556ภาพยนตร์สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3สถานีโทรทัศน์ไอทีวีจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ประเทศไทยแฟนพันธุ์แท้ไฟว์ไลฟ์

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี

นีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี (Channel 9 MCOT HD; ชื่อเดิม: สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 บางลำพู, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท., สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งแรกของประเทศไทย ของบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2498 ในระบบวีเอชเอฟ เดิมออกอากาศเป็นภาพขาวดำ ทางช่องสัญญาณที่ 4 ต่อมาในปี พ.ศ. 2517 จึงย้ายมาออกอากาศด้วยภาพสี ทางช่องสัญญาณที่ 9 จนถึงปัจจุบัน สังกัด สำนักนายกรัฐมนตรี โดยมีนายกอบศักดิ์ ภูตระกูล รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นผู้กำกับดูแล มีพลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข เป็นประธานกรรมการบริษัท และนายเขมทัตต์ พลเดชเป็นกรรมการผู้อำนวยการใหญ.

กฤษณ์ ศรีภูมิเศรษฐ์และช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี · ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีและสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · ดูเพิ่มเติม »

ช่องเวิร์คพอยท์

องเวิร์คพอยท์ เป็นช่องโทรทัศน์ภาคพื้นดิน ระบบดิจิทัลในประเทศไทย ประเภทบริการธุรกิจระดับชาติ รูปแบบรายการทั่วไป ประเภทความคมชัดมาตรฐาน และออกอากาศคู่ขนานแบบไม่ใช้คลื่นความถี่ ผ่านเครือข่ายโทรทัศน์เคเบิล และระบบโทรทัศน์ดาวเทียม ปัจจุบันดำเนินการโดย บริษัท ไทย บรอดคาสติ้ง จำกัด ซึ่งอยู่ในเครือบริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน).

กฤษณ์ ศรีภูมิเศรษฐ์และช่องเวิร์คพอยท์ · ช่องเวิร์คพอยท์และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2522

ทธศักราช 2522 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1979 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

กฤษณ์ ศรีภูมิเศรษฐ์และพ.ศ. 2522 · พ.ศ. 2522และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2546

ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.

กฤษณ์ ศรีภูมิเศรษฐ์และพ.ศ. 2546 · พ.ศ. 2546และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

กฤษณ์ ศรีภูมิเศรษฐ์และพ.ศ. 2548 · พ.ศ. 2548และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

กฤษณ์ ศรีภูมิเศรษฐ์และพ.ศ. 2549 · พ.ศ. 2549และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

กฤษณ์ ศรีภูมิเศรษฐ์และพ.ศ. 2553 · พ.ศ. 2553และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2556

ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

กฤษณ์ ศรีภูมิเศรษฐ์และพ.ศ. 2556 · พ.ศ. 2556และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · ดูเพิ่มเติม »

ภาพยนตร์

กล้องถ่ายภาพเคลื่อนไหวของฟ็อกซ์ในยุคแรก ๆ ภาพยนตร์ หรือ หนัง คือ กระบวนการบันทึกภาพด้วยฟิล์ม แล้วนำออกฉายให้เห็นภาพเคลื่อนไหว ภาพที่ปรากฏบนฟิล์มภาพยนตร์หลังจากผ่านกระบวนการถ่ายทำแล้วเป็นเพียงภาพนิ่งจำนวนมาก ที่มีอิริยาบถหรือแสดงอาการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปทีละน้อยต่อเนื่องกันเป็นช่วงๆ ตามเรื่องราวที่ได้รับการถ่ายทำและตัดต่อมา ซึ่งอาจเป็นเรื่องราวหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง หรือเป็นการแสดงให้เหมือนจริง หรืออาจเป็นการแสดงและสร้างภาพจากจินตนาการของผู้สร้างก็ได้ ไม่ว่าจะเป็นชนิดฟิล์มเนกาทีฟ (negative) หรือฟิล์มโพซิทีฟ (positive) ซึ่งได้ถูกถ่าย อัด หรือกระทำด้วยวิธีใด ๆ ให้ปรากฏรูปหรือเสียงหรือทั้งรูปและเสียง เป็นเรื่องหรือเหตุการณ์ หรือข้อความอันจักถ่ายทอดรูปหรือเสียง หรือทั้งรูปและเสียงได้ด้วยเครื่องฉายภาพยนตร์หรือเครื่องอย่างอื่นทำนองเดียวกัน และหมายความตลอดถึงฟิล์มซึ่งได้ถูกถ่าย อัด หรือทำด้วยวิธีใด ๆ ให้ปรากฏสี เพื่ออัดลงในฟิลม์ชนิดดังกล่าว เป็นสาขาที่สร้างสรรค์ผลงานทางศิลปะในรูปของภาพเคลื่อนไหว และเป็นส่วนหนึ่งของอุตสาหกรรมบันเทิง.

กฤษณ์ ศรีภูมิเศรษฐ์และภาพยนตร์ · ภาพยนตร์และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3

นีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 อ..ม.ท. เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งที่ 4 ของประเทศไทย ดำเนินกิจการโดยบริษัท บางกอก เอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด ภายใต้สัญญาสัมปทานกับบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2513 เวลา 10:00 น. ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ออกอากาศด้วยระบบวีเอชเอฟ ความถี่ต่ำ ทางช่องสัญญาณที่ 3 จนถึงปี พ.ศ. 2550 หลังจากนั้น จึงเปลี่ยนมาออกอากาศในระบบยูเอชเอฟ ทางช่องสัญญาณที่ 32 โดยที่เริ่มแพร่ภาพคู่ขนาน (simulcast) กับโทรทัศน์ระบบดิจิทัล ช่องหมายเลข 33 ภาพคมชัดสูง ของบริษัท บีอีซี-มัลติมีเดีย จำกัด ตามคำสั่งของศาลปกครอง ตั้งแต่เวลา 21:19 น. ของวันศุกร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2557 มีคำขวัญประจำสถานีฯ ว่า คุ้มค่าทุกนาที ดูทีวีสีช่อง 3 โดยมีประสาร มาลีนนท์ รักษาการในตำแหน่งกรรมการผู้จัดการ ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2555 แทนประวิทย์ มาลีนนท์ ที่ขอลาออกเนื่องจากมีปัญหาเรื่อง.

กฤษณ์ ศรีภูมิเศรษฐ์และสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 · สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกและสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 · ดูเพิ่มเติม »

สถานีโทรทัศน์ไอทีวี

นีโทรทัศน์ไอทีวี (Independent Television ชื่อย่อ: itv) เริ่มต้นออกอากาศอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2539 เวลา 19.00 น. โดยเริ่มต้นจากการนำเสนอ ข่าวภาคค่ำประจำวัน เพื่อตอกย้ำภาพลักษณ์ การเป็น สถานีโทรทัศน์เพื่อข่าวสาร และสาระความรู้ โดยผู้ประกาศข่าวคู่แรกของสถานี คือ กิตติ สิงหาปัด และ เทพชัย หย่อง ออกอากาศทางช่อง 26และช่อง 29 โดยมี สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี (สปน.) เป็นเจ้าของคลื่นความถี่ และผู้กำกับสัมปทาน เป็นสถานีโทรทัศน์แห่งที่ 6 ที่ให้บริการแบบไม่ต้องเสียค่าบริการ แห่งประเทศไทย จนกระทั่งต้องยุติการออกอากาศ ตั้งแต่เวลา 24.00 น. ของวันพุธที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2550 เนื่องจากไม่สามารถจ่ายค่าสัมปทานส่วนต่างๆ และค่าปรับแก่ สปน.ได้ตามเวลาที่กำหน.

กฤษณ์ ศรีภูมิเศรษฐ์และสถานีโทรทัศน์ไอทีวี · สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกและสถานีโทรทัศน์ไอทีวี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

ังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นจังหวัดในภาคตะวันตกของประเทศไทย เป็นจังหวัดที่มีรูปร่างยาวในแนวเหนือ-ใต้ และแคบในแนวตะวันออก-ตะวันตก โดยมีส่วนที่แคบที่สุดของประเทศไทย ระยะทางประมาณ 12 กิโลเมตร มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดอยู่ที่เทศบาลเมืองประจวบคีรีขันธ์ ในขณะที่เมืองที่มีประชากรมากที่สุดในจังหวัด คือ เทศบาลเมืองหัวหิน.

กฤษณ์ ศรีภูมิเศรษฐ์และจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ · จังหวัดประจวบคีรีขันธ์และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

กฤษณ์ ศรีภูมิเศรษฐ์และประเทศไทย · ประเทศไทยและสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · ดูเพิ่มเติม »

แฟนพันธุ์แท้

แฟนพันธุ์แท้ เป็นรายการเกมโชว์ควิซโชว์ ออกอากาศทางช่องเวิร์คพอยท์ ดำเนินรายการโดย กันต์ กันตถาวร ผลิตรายการโดย บริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) เริ่มออกอากาศวันแรกเมื่อวันที่ 1 กันยายน 2543 ในตอน คาราบาว มีพิธีกรคู่แรกคือ ปัญญา นิรันดร์กุล และ ธีรวัฒน์ อนุวัตรอุดม (สังข์ 108 มงกุฎ) แต่ตั้งแต่เทปที่ 2 เป็นต้นมาทางรายการเหลือพิธีกรเพียงคนเดียวคือ ปัญญา นิรันดร์กุล แฟนพันธุ์แท้เป็นรายการตอบปัญหาที่ส่งเสริมความรู้ ความรัก ความคลั่งไคล้ และแสดงถึงอัจฉริยภาพในสาขาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นบุคคล สิ่งของ สถานที่ วัฒนธรรม วรรณกรรม และเหตุการณ์ต่าง ๆ ด้วยการแข่งขันเรื่องราวนั้น ๆ มีไอเดียตั้งต้นจากการที่จิก ประภาส ชลศรานนท์ รองประธานของบริษัทเวิร์คพอยท์ได้ยินซูโม่ขิ่มเพื่อนร่วมรุ่นที่คณะสถาปัตย์ จุฬาฯ เล่าเรื่องสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลที่เขาคลั่งไคล้ได้อย่างสนุกสนานและตื่นเต้นจึงมีความคิดที่อยากนำเรื่องราวของกลุ่มแฟนคลับต่าง ๆ ที่มีอยู่แล้ว มานำเสนอในรูปแบบของเกมโชว์ ปี 2552 รายการแฟนพันธุ์แท้ได้ยุติการออกอากาศ เนื่องจากสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 ยกเลิกสัญญา ในปี 2555 รายการแฟนพันธุ์แท้กลับมาออกอากาศอีกครั้งทางช่องเดิม ได้เปลี่ยนผู้ดำเนินรายการเป็น กฤษณ์ ศรีภูมิเศรษฐ์ เริ่มออกอากาศวันที่ 3 กุมภาพัน..

กฤษณ์ ศรีภูมิเศรษฐ์และแฟนพันธุ์แท้ · สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกและแฟนพันธุ์แท้ · ดูเพิ่มเติม »

ไฟว์ไลฟ์

ฟว์ไลฟ์ (Five Live) เริ่มขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2545 เป็นรายการของ บริษัท จีเอ็มเอ็มทีวี จำกัด ถ่ายทอดสดจากตึก จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ชั้น 11 ทุกวันจ้นทร์-ศุกร์ เวลา 00:55 - 01:50 น. ทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 (ปี 2556 เพิ่มการออกอากาศในชื่อ ไฟฟ์ไลฟ์ วีคเอ็น ทุกวันเสาร์เวลา 00:20 - 01:10 น. เริ่ม 5 มกราคม พ.ศ. 2556) ออกอากาศซ้ำ(Rerun) เวลา 10:00 - 11:00 น. ทุกวันจันทร์-ศุกร์ทางช่อง แบงแชนแนล และได้ยุติการออกอากาศไปพร้อมกับการปิดตัวของช่องแบงแชนแนล เมื่อเดือนธันวาคม..

กฤษณ์ ศรีภูมิเศรษฐ์และไฟว์ไลฟ์ · สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกและไฟว์ไลฟ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง กฤษณ์ ศรีภูมิเศรษฐ์และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก

กฤษณ์ ศรีภูมิเศรษฐ์ มี 43 ความสัมพันธ์ขณะที่ สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก มี 241 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 15, ดัชนี Jaccard คือ 5.28% = 15 / (43 + 241)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กฤษณ์ ศรีภูมิเศรษฐ์และสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: