เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

กรุงเทพมหานครและศิรินทรา นิยากร

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง กรุงเทพมหานครและศิรินทรา นิยากร

กรุงเทพมหานคร vs. ศิรินทรา นิยากร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม. รินทรา นิยากร (10 มีนาคม พ.ศ. 2508 -) เป็นนักร้องลูกทุ่งหญิงชาวไทย มีผลงานเพลงที่เป็นที่รู้จัก คือ รู้ว่าเขาหลอก และ จะขอก็รีบขอ ศิรินทราเกิดที่เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรของนายสำราญและนางทองล้วน นิยากร จบการศึกษาระดับปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคำแหง และปริญญาโท คณะบริหารธุรกิจการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จนได้ชื่อว่าเป็นนักร้องลูกทุ่งหญิงมหาบัณฑิตคนแรกของไทย ศิรินทราเข้าสู่วงการเพลง โดยเริ่มจากการเข้าประกวดร้องเพลงขับร้อง 5 ภูมิภาค ของศูนย์ดนตรีวาทินี จนได้รับรางวัลชนะเลิศระดับประเทศในปี พ.ศ. 2524 ด้วยบทเพลงแนว ลูกกรุง "หยาดน้ำฝน หยดน้ำตา" ต่อมาบริษัท อโซน่า ค่ายเทปชื่อดังในสมัยนั้น ได้พาศิรินทราร้องเพลงบันทึกเสียง โดยมักเป็นผลงานเพลงลูกทุ่ง เพลงที่สร้างชื่อเสียงอย่างมาก ได้แก่ "รู้ว่าเขาหลอก" และ "จะขอก็รีบขอ" จากผลงานการแต่งของ กานท์ การุณวงศ์ จนมีชื่อเสียงเทียบเคียงกับ พุ่มพวง ดวงจันทร์ โดยได้รับรางวัลพระราชทานขับร้องเพลงดีเด่นจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในงาน กึ่งศตวรรษเพลงลูกทุ่งไทย ปี พ.ศ. 2532 จากเพลง รู้ว่าเขาหลอก และ พ.ศ. 2534 จากเพลง จะขอก็รีบขอ และได้รับการขับร้องต่อโดยศิลปินอีกหลายท่านในภายหลัง ศิรินทรายังมีผลงานเพลงตามมาอีกมากมาย ทั้งในแนวสนุกและหวานซึ้ง เช่นหลงมนต์คนเอฟเอ็ม, น้องว่างทุกวัน, คิดฮอดอีสาน, สุดรักสุดบูชา, อยากฟังซ้ำ, กล่อมใจตัวเอง, คอยพี่, เหนือคำสาบาน, ผู้หญิงหลังไมค์ ฯลฯ และเคยได้ตั้งวงดนตรีลูกทุ่งของตัวเองด้วย ด้านการแสดง ศิรินทราเคยแสดง ภาพยนตร์ เรื่อง อยู่กับยาย ในปี พ.ศ. 2531 และ อ้อนรักแฟนเพลง ในปี พ.ศ. 2532 ซึ่งทั้งสองเรื่องแสดงคู่กับ ยอดรัก สลักใจ และยังได้แสดงละครโทรทัศน์เรื่อง ตะกายดาวทางช่อง 9 ในฐานะดารารับเชิญ และเรื่อง ถนนสายสุดท้าย ทางช่อง 7 ในปี พ.ศ. 2537 ผลงานแสดงในยุคหลัง ได้แก่ละครโทรทัศน์เรื่อง แผลเก่า ทางช่อง 3 และภาพยนตร์เรื่อง มนต์เพลงลูกทุ่ง เอฟ.เอ็ม. ในปี พ.ศ. 2545 ละคร นางแบบโคกกระโดน ทางช่อง 7 และละคร ราชินีลูกทุ่ง ทางช่อง 8 ในปี พ.ศ. 2555 และละคร หางเครื่อง ทางช่อง 7 ในปี พ.ศ. 2557 และละคร เพลงรักเพลงลำ ในปี พ.ศ. 2558 ทาง ช่อง 7 ละคร สาวน้อยคาเฟ่ ในปี พ.ศ. 2559 ทางช่อง พีพีทีวี และละคร ฉันทนาสามช่า ในปี พ.ศ. 2559 ทาง ช่อง 7 ละคร มือปืนพ่อลูกติด ในปี พ.ศ. 2560 ทาง ช่อง 7 และละคร ดาวจรัสฟ้า ในปี พ.ศ. 2561 ช่องวัน ปัจจุบันศิรินทรายังคงรับงานร้องเพลง มีผลงานเพลงบันทึกเสียงออกมาเรื่อยๆ และเป็นดีเจ คลื่น ลูกทุ่งมหานคร เอฟ.เอ็ม. 95 เมกกะเฮิร์ตซ์ รวมถึงเป็นพิธีกรทาง บลูสกายแชนแนล ในวันเสาร์-วันอาทิต.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กรุงเทพมหานครและศิรินทรา นิยากร

กรุงเทพมหานครและศิรินทรา นิยากร มี 14 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2524พ.ศ. 2526พ.ศ. 2537พ.ศ. 2555พ.ศ. 2557พ.ศ. 2558พ.ศ. 2559พ.ศ. 2560พ.ศ. 2561กรุงเทพมหานครประเทศไทยเขตบางเขนเขตจตุจักร6 ตุลาคม

พ.ศ. 2524

ทธศักราช 2524 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1981 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

กรุงเทพมหานครและพ.ศ. 2524 · พ.ศ. 2524และศิรินทรา นิยากร · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2526

ทธศักราช 2526 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1983 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

กรุงเทพมหานครและพ.ศ. 2526 · พ.ศ. 2526และศิรินทรา นิยากร · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2537

ทธศักราช 2537 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1994 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

กรุงเทพมหานครและพ.ศ. 2537 · พ.ศ. 2537และศิรินทรา นิยากร · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

กรุงเทพมหานครและพ.ศ. 2555 · พ.ศ. 2555และศิรินทรา นิยากร · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2557

ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.

กรุงเทพมหานครและพ.ศ. 2557 · พ.ศ. 2557และศิรินทรา นิยากร · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

กรุงเทพมหานครและพ.ศ. 2558 · พ.ศ. 2558และศิรินทรา นิยากร · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2559

ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.

กรุงเทพมหานครและพ.ศ. 2559 · พ.ศ. 2559และศิรินทรา นิยากร · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2560

ทธศักราช 2560 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2017 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

กรุงเทพมหานครและพ.ศ. 2560 · พ.ศ. 2560และศิรินทรา นิยากร · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2561

ทธศักราช 2561 เป็นปีปัจจุบัน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2018 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

กรุงเทพมหานครและพ.ศ. 2561 · พ.ศ. 2561และศิรินทรา นิยากร · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

กรุงเทพมหานครและกรุงเทพมหานคร · กรุงเทพมหานครและศิรินทรา นิยากร · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

กรุงเทพมหานครและประเทศไทย · ประเทศไทยและศิรินทรา นิยากร · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางเขน

ตบางเขน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ ซึ่งถือเป็นเขตที่อยู่อาศัยรองรับการขยายตัวของเมือง ทางทิศตะวันออก (ตอนเหนือ) ของกรุงเทพมหานคร และเป็นเขตที่มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับที่ 4 ในกรุงเทพมหานครรองจากเขตบางแ.

กรุงเทพมหานครและเขตบางเขน · ศิรินทรา นิยากรและเขตบางเขน · ดูเพิ่มเติม »

เขตจตุจักร

ตจตุจักร เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร จัดอยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ ซึ่งถือเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

กรุงเทพมหานครและเขตจตุจักร · ศิรินทรา นิยากรและเขตจตุจักร · ดูเพิ่มเติม »

6 ตุลาคม

วันที่ 6 ตุลาคม เป็นวันที่ 279 ของปี (วันที่ 280 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 86 วันในปีนั้น.

6 ตุลาคมและกรุงเทพมหานคร · 6 ตุลาคมและศิรินทรา นิยากร · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง กรุงเทพมหานครและศิรินทรา นิยากร

กรุงเทพมหานคร มี 409 ความสัมพันธ์ขณะที่ ศิรินทรา นิยากร มี 53 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 14, ดัชนี Jaccard คือ 3.03% = 14 / (409 + 53)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กรุงเทพมหานครและศิรินทรา นิยากร หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: