เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

กรีนเดย์และเดอะบีเทิลส์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง กรีนเดย์และเดอะบีเทิลส์

กรีนเดย์ vs. เดอะบีเทิลส์

กรีนเดย์ (Green Day) เป็นวงร็อกจากอเมริกา เริ่มก่อตั้งวงในปี 1987http://www.sanfran.com/archives/view_story/96/ โดยสมาชิก 3 คนคือ Billie Joe Armstrong (กีตาร์, ร้องนำ), Mike Dirnt (เบส) และ Tré Cool (กลอง) มียอดขายอัลบัมทั่วโลกมากกว่า 60 ล้านชุด รวมถึง 22 ล้านชุดเฉพาะในสหรัฐอเมริกา และได้รับรางวัลแกรมมี่ 3 ครั้งสาขา Best Alternative Album จากอัลบัม Dookie, Best Rock Album จากอัลบัม American Idiot, และ Record of the Year จากเพลง "Boulevard of Broken Dreams". อะบีเทิลส์ (The Beatles) เป็นวงร็อกแอนด์โรลจากเมืองลิเวอร์พูล ประเทศอังกฤษ ในปี 1960 ประกอบด้วยสมาชิก ร้องนำและมือกีตาร์ จอห์น เลนนอน ร้องนำและมือเบสพอล แม็กคาร์ตนีย์ มือกีตาร์ จอร์จ แฮร์ริสัน และมือกลอง ริงโก สตาร์ บีเทิลส์ได้รับการยกย่องอย่างกว้างขวางให้เป็นวงร็อกที่มีอิทธิพลที่สุดแห่งยุคและเป็นหนึ่งในวงที่ประสบความสำเร็จมากที่สุด ในตอนเริ่มต้นแนวดนตรีของพวกเขาจะเป็นแบบสกิฟเฟิลและร็อกแอนด์โรล แต่ในเวลาต่อมาบีเทิลส์ก็ได้สรรค์สร้างแนวเพลงอีกหลากหลาย นับแต่ไปจนถึงไซเคเดลิก บางครั้งก็ผสมแนวดนตรีคลาสสิกหรือเครื่องดนตรีแบบอื่นๆ ด้วยกระแสนิยมของบีเทิลส์อย่างสูง จนถึงกลับเรียกกระแสเหล่านี้ว่า "บีเทิลมาเนีย" (Beatlemania) โดยเฉพาะในช่วงยุค 60 - 70 เดอะบีเทิลส์เริ่มสร้างชื่อเสียงจากเล่นคอนเสิร์ตในคลับที่ลิวเวอร์พูลและฮัมบูร์กในช่วง 3 ปีของ 1960 โดยมีเพลงฮิตที่ประสบความสำเร็จครั้งแรกอย่าง "เลิฟมีดู" (Love Me Do) ในช่วงปลายปี 1962 พวกเขาได้ฉายา "เดอะแฟปโฟร์" (the Fab Four) ในขณะที่กระแสบีเทิลมาเนียก็เริ่มเกิดขึ้นมาพปีต่อมา และในช่วงก่อนปี 1964 พวกเขาก็ได้กลายมาเป็นไไแห่งวงการดนตรีนานาชาติ ไกลไปจนถึงตลาดเพลงป๊อปของสหรัฐอเมริกา ในปี 1965 เดอะบีเทิลส์ได้สร้างงานดนตรีที่ได้รับการยกย่องว่าเป็น ชิ้นชเอกทั้งหของนวัตกรรมดนตรีและอิทธิพลทางดนตรีสมัยใหม่ เช่น Rubber Soul (1965), Revolver (1966), Sgt.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กรีนเดย์และเดอะบีเทิลส์

กรีนเดย์และเดอะบีเทิลส์ มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): รางวัลแกรมมีร็อกหอเกียรติยศร็อกแอนด์โรล

รางวัลแกรมมี

รางวัลแกรมมี รางวัลแกรมมี (Grammy Award) มีชื่อเต็มว่า Gramophone Awards เป็นรางวัลทางดนตรี และศิลปิน ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของโลก จัดขึ้นโดยสถาบันศิลปะวิทยาการการบันทึกเสียงแห่งสหรัฐอเมริกา (National Academy of Recording Arts and Sciences:NARAS) เป็นรายการแจกรางวัลให้ผู้มีผลงานโดดเด่นในอุตสาหกรรมการดนตรี จัดขึ้นเป็นประจำปีในสหรัฐอเมริกา โดยมากจะจัดในเดือนกุมภาพันธ์ มีสาขารางวัลถึง 108 สาขา ใน 30 แนวเพลง เป็นการโหวดโดยคณะกรรมการใน NARAS(คณะกรรมการที่เคยโหวดเช่น จอน บอน โจวี, ปริ้นซ์, Anand Bhatt, พอล ไซม่อน, เป็นต้น) รางวัลแกรมมีเริ่มมีการมอบรางวัลตั้งแต่ปี ค.ศ. 1959 โดยเริ่มถ่ายทอดสดในปี 1971.

กรีนเดย์และรางวัลแกรมมี · รางวัลแกรมมีและเดอะบีเทิลส์ · ดูเพิ่มเติม »

ร็อก

ร็อก (Rock) แนวเพลงที่ได้รับความนิยม มีต้นกำเนิดจากดนตรีร็อกแอนด์โรลในสหรัฐอเมริกาในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1950 และเริ่มพัฒนาสู่แนวเพลงหลายแขนงในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1960 และช่วงหลังจากนั้น โดยเฉพาะในสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกาW.

กรีนเดย์และร็อก · ร็อกและเดอะบีเทิลส์ · ดูเพิ่มเติม »

หอเกียรติยศร็อกแอนด์โรล

ร็อกแอนด์โรลฮอลออฟเฟม หอเกียรติยศร็อกแอนด์โรลและพิพิธภัณฑ์ (The Rock and Roll Hall of Fame and Museum) เป็นพิพิธภัณฑ์ที่ตั้งอยู่บนชายหาดของทะเลสาบอีรี ในตัวเมืองคลีฟแลนด์ รัฐโอไฮโอ ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นพิพิธภัณฑ์สำหรับดนตรี วงการเพลง ประวัติศาสตร์วงการแผ่นเสียง ที่มีบันทึกเรื่องราวของศิลปินที่เป็นที่รู้จักที่สุด โปรดิวเซอร์ และบุคคลที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมดนตรี โดยมากมักแสดงเนื้อหาเกี่ยวกับร็อกแอนด์โรล พิพิธภัณฑ์เป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาในพื้นที่ North Coast Harbor.

กรีนเดย์และหอเกียรติยศร็อกแอนด์โรล · หอเกียรติยศร็อกแอนด์โรลและเดอะบีเทิลส์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง กรีนเดย์และเดอะบีเทิลส์

กรีนเดย์ มี 32 ความสัมพันธ์ขณะที่ เดอะบีเทิลส์ มี 28 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 5.00% = 3 / (32 + 28)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กรีนเดย์และเดอะบีเทิลส์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: