โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กราฟิกดีไซน์และเลอกอร์บูซีเย

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง กราฟิกดีไซน์และเลอกอร์บูซีเย

กราฟิกดีไซน์ vs. เลอกอร์บูซีเย

กราฟิกดีไซน์ (Graphic design) คือการออกแบบสื่อสัญลักษณ์ที่มองเห็นด้วยตา (เป็นทัศนศิลป์อย่างหนึ่ง) ทำหน้าที่เพื่อสื่อความหมาย กราฟิกดีไซน์ เป็นการทับศัพท์มาจากภาษาอังกฤษ graphic design คำว่า graphic มีคำในภาษาไทยที่ใช้แทนได้คือ เรขศิลป์, เลขนศิลป์ หรือ เรขภาพ ส่วน design แปลว่า การออกแบบ เมื่อรวมกันแล้ว กราฟิกดีไซน์จึงมีหมายความว่า การออกแบบเรขศิลป์ หรือ การออกแบบเลขนศิลป์ ผู้ออกแบบกราฟิกจะทำการสร้าง และ/หรือ รวมส่วนประกอบทางศิลป์อย่าง สัญลักษณ์ รูปภาพ ตัวอักษร มาผ่านกระบวนการทางการออกแบบอย่างหนึ่งอย่างใดหรือมากกว่าหนึ่งกระบวนการทางการออกแบบ เช่น การออกแบบตัวอักษร การวาดภาพประกอบ การจัดองค์ประกอบ เพื่อใช้ในการสื่อสารบางอย่าง มักมีการเข้าใจผิดว่ากราฟิกดีไซน์เป็นงานที่ทำด้วยคอมพิวเตอร์หรือเป็นการสร้างแอนิเมชันสามมิติเพียงอย่างเดียว ซึ่งในความเป็นจริง คอมพิวเตอร์เป็นเพียงเครื่องมือชิ้นหนึ่งที่ช่วยในการสร้างงานกราฟิกดีไซน์ได้ เช่นเดียวกับ ดินสอ ปากกา พู่กัน. ลอกอร์บูซีเย (Le Corbusier) เป็นนามแฝงของ ชาร์ล-เอดูอาร์ จาเนอเร-กรี (Charles-Édouard Jeanneret-Gris) สถาปนิก นักผังเมือง มัณฑนากร จิตรกร และนักเขียน เกิดเป็นชาวสวิสในภูมิภาคที่ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาทางการ แต่แปลงสัญชาติเป็นชาวฝรั่งเศสเมื่ออายุ 43 ปี เกิดที่เมืองโช-เดอ-ฟง (Chaux-de-Fonds) ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม ค.ศ. 1887 และเสียชีวิตที่เมือง รอกเกอบรุน-กัป-มาร์ตัง (Roquebrune-Cap-Martin) เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กราฟิกดีไซน์และเลอกอร์บูซีเย

กราฟิกดีไซน์และเลอกอร์บูซีเย มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง กราฟิกดีไซน์และเลอกอร์บูซีเย

กราฟิกดีไซน์ มี 19 ความสัมพันธ์ขณะที่ เลอกอร์บูซีเย มี 34 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (19 + 34)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กราฟิกดีไซน์และเลอกอร์บูซีเย หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »