โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กระแตหางขนนกและเกาะสุมาตรา

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง กระแตหางขนนกและเกาะสุมาตรา

กระแตหางขนนก vs. เกาะสุมาตรา

กระแตหางขนนก (pen-tailed treeshrew) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในอันดับกระแต (Scandentia) นับเป็นกระแตเพียงชนิดเดียวเท่านั้น ที่อยู่ในวงศ์ Ptilocercidae และสกุล Ptilocercus แบ่งออกเป็น 2 ชนิดย่อย (ดูในตาราง) กระแตหางขนนก มีตัวยาวประมาณ 13-14 เซนติเมตร หางยาว 16-19 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 40-62 กรัม หางมีสีได้หลากหลาย ตั้งแต่สีเทาจนถึงน้ำตาลอ่อน ท้องสีขาวหรือสีครีม ปลายหางตั้งแต่ระยะ 3 ใน 5 ของหางจนถึงปลายหาง ขนมีลักษณะคล้ายขนนกหรือพู่กัน ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของกระแตชนิดนี้ ทำให้แยกออกมาเป็นวงศ์และสกุลต่างหาก กระจายพันธุ์อยู่ในคาบสมุทรมลายู จนถึงเกาะสุมาตรา, ทางเหนือของเกาะบอร์เนียว และเกาะข้างเคียง ในประเทศไทยพบทางป่าชายแดนภาคใต้ตอนล่าง พบในป่าดั้งเดิมและป่าชั้นสอง, สวนยาง หรือแม้แต่ในหมู่บ้านที่อยู่ชายป่า มักพบอยู่ในที่ที่มีต้นปาล์มชนิด จากเขา (Eugeissona tristis) ทำรังบนต้นไม้ รังอยู่สูงจากพื้น 12-20 เมตร ปูพื้นด้วยใบไม้แห้ง กิ่งไม้และเยื่อไม้ เส้นผ่านศูนย์กลางรังประมาณ 3 นิ้ว และยาวประมาณ 18 นิ้ว ออกหากินในเวลากลางคืน เวลากลางวันจะค่อนข้างเฉื่อยชา หากถูกรบกวนในเวลากลางวัน มักจะหันหลังให้ อ้าปากกว้างและส่งเสียงดังข่มขู่ บางครั้งก็ถ่ายมูลหรือปัสสาวะใส่ด้วย แต่หากถูกรบกวนตอนกลางคืน จะวิ่งหนีไปอย่างรวดเร็ว กินอาหารได้หากหลายทั้งพืชและสัตว์เช่นเดียวกับกระแตส่วนใหญ่ เช่น กล้วย, องุ่น, จิ้งหรีด, ตั๊กแตน, มด, แมลงสาบ, จักจั่น, แมลงปีกแข็ง และสัตว์เลื้อยคลานขนาดเล็กจำพวกตุ๊กแก ทำรังอยู่ร่วมกันเป็นฝูงใหญ่ ฝูงหนึ่งมีรัง 2-7 รัง สามารถไต่กิ่งไม้ทางด้านใต้กิ่งได้ มีประสาทสัมผัสที่หางไวมาก เมื่อแสดงอาการก้าวร้าวจะแกว่งหางไปมาแบบลูกตุ้ม แต่ถ้าตื่นเต้นจะชูหางขึ้นชี้ด้านบน มีระยะเวลาตั้งท้องนานประมาณ 45-55 วัน คาดว่าออกลูกครั้งละ 1-4 ตัว ลูกแรกเกิดหนักประมาณ 10 กรัม ตัวเมียมีเต้านม 4 เต้. มาตรา หรือ ซูมาเตอรา (Sumatra; Sumatera) คือเกาะที่มีขนาดเป็นอันดับ 6 ของโลก (มีขนาดประมาณ 470,000 กม.&sup2) และเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดของประเทศอินโดนีเซี.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง กระแตหางขนนกและเกาะสุมาตรา

กระแตหางขนนกและเกาะสุมาตรา มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): คาบสมุทรมลายูเกาะเกาะบอร์เนียว

คาบสมุทรมลายู

มุทรมลายู คาบสมุทรมลายู หรือ แหลมมลายู (Semenanjung Tanah Melayu; Malay Peninsula) เป็นคาบสมุทรขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ วางตัวเกือบอยู่ในแนวเหนือ-ใต้ และเป็นจุดที่อยู่ใต้สุดของทวีปเอเชีย ส่วนที่แคบที่สุดของคาบสมุทรมลายู คือ คอคอดกระ ชายฝั่งด้านตะวันตกเฉียงใต้แยกออกจากเกาะสุมาตราด้วยช่องแคบมะละกา มีเกาะบอร์เนียวอยู่ทางตะวันออกในทะเลจีนใต้.

กระแตหางขนนกและคาบสมุทรมลายู · คาบสมุทรมลายูและเกาะสุมาตรา · ดูเพิ่มเติม »

เกาะ

กาะเล็ก ๆ ในทะเลสาบซารานักล่าง เกาะ (island) เป็นพื้นดินที่ล้อมรอบด้วยน้ำ มีขนาดเล็กกว่าทวีป อาจอยู่ในมหาสมุทร ทะเล ทะเลสาบ หรือแม่น้ำ เกาะขนาดเล็กเรียกว่า เกาะเล็ก (isle) ซึ่งรวมถึงอะทอลล์ (atoll) หรือ เกาะปะการังวงแหวน และ เกาะปริ่มน้ำ (key หรือ cay) ที่เป็นเกาะขนาดเล็กโผล่ขึ้นมาเหนือพื้นน้ำ เกาะหลายเกาะที่อยู่รวมกันเป็นกลุ่ม เรียกว่า กลุ่มเกาะ (archipelago) อาจแบ่งเกาะได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ คือ เกาะริมทวีป (continental island) เกาะแม่น้ำ (river island) และ เกาะภูเขาไฟ (volcanic island) นอกจากนี้ยังมีเกาะเทียม (artificial island) ที่สร้างขึ้นโดยมนุษ.

กระแตหางขนนกและเกาะ · เกาะและเกาะสุมาตรา · ดูเพิ่มเติม »

เกาะบอร์เนียว

อร์เนียว (Borneo) หรือ กาลีมันตัน (Kalimantan) เป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก รองจากเกาะกรีนแลนด์ (อันดับ 1) และเกาะนิวกินี (อันดับ 2) มีประเทศ 3 ประเทศอยู่ในเกาะบอร์เนียว คือ มาเลเซีย บรูไน อินโดนีเซีย อยู่บริเวณใจกลางกลุ่มเกาะมลายูและประเทศอินโดนีเซีย ในทางภูมิศาสตร์ เกาะบอร์เนียวเป็นส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีทรัพยากรน้ำมันและก๊าซธรรมชาติมากที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

กระแตหางขนนกและเกาะบอร์เนียว · เกาะบอร์เนียวและเกาะสุมาตรา · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง กระแตหางขนนกและเกาะสุมาตรา

กระแตหางขนนก มี 43 ความสัมพันธ์ขณะที่ เกาะสุมาตรา มี 29 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 4.17% = 3 / (43 + 29)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง กระแตหางขนนกและเกาะสุมาตรา หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »